กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


“ โครงการ พัฒนาทีมพี่เลี้ยง สนับสนุนกองทุนฯนำร่อง ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตามประเมิน DHB อ.จะนะ จ.สงขลา ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการ พัฒนาทีมพี่เลี้ยง สนับสนุนกองทุนฯนำร่อง ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตามประเมิน DHB อ.จะนะ จ.สงขลา

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ hsmi12-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 30 เมษายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ พัฒนาทีมพี่เลี้ยง สนับสนุนกองทุนฯนำร่อง ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตามประเมิน DHB อ.จะนะ จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ พัฒนาทีมพี่เลี้ยง สนับสนุนกองทุนฯนำร่อง ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตามประเมิน DHB อ.จะนะ จ.สงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ พัฒนาทีมพี่เลี้ยง สนับสนุนกองทุนฯนำร่อง ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตามประเมิน DHB อ.จะนะ จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ hsmi12-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 30 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 250,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน
  2. เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมเพื่อรับฟังคำชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน และฝึกปฏิบัติการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนของกองทุนฯ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00-13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานกิจกรรมดครการปัจจัยเสียง  ในเรื่อง  เหล้า  บุหรี่  ยาเสพติด  การออกกำลังกาย และโภชนาการ  ทิศทางการดำเนินงาน  การคีย์แผนงานโครงการในระบบออนไลน์    การจัดทำแผนสุขภาพ

     

    30 30

    2. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลแค ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ครั้งที่ 1

    วันที่ 4 ธันวาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการประชุมร่วมกับคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลแคโดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแค เป็นประธานในการประชุม และปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลแค ทำหน้าที่เลขานุการ มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 16 ท่าน ประกอบด้วย คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลแค ตัวแทนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดคูนายสังข์ ประธาน อสม. ตำบลแค และตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้าน เริ่มประชุมเวลา 13.30 น.

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางในการดำเนินงานของกองทุนในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม ดังนี้

    1. ให้ทางกองทุนจัดทำข้อมูลประเมินผลการดำเนินงานและสรุปรายงานทางการเงิน ประจำปี 2560 ให้แล้วเสร็จก่อนสิ้นเดือนธันวาคม
    2. ให้ทางกองทุนตรวจสอบข้อมูลการจัดสรรค่าเหมาจ่ายรายหัว ได้จากเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล
    3. ให้กองทุนบันทึกข้อมูลโครงการบริหารจัดการกองทุนในแผนงานผ่านเว็บไซต์ โดยทาง สปสช. เขต 12 จะโอนเงินตามยอดจัดสรรแก่กองทุน หลังจากกองทุนบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน (ไม่เกินร้อยละ 15 ) แล้ว
    4. ให้กองทุนจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชน ในกรณีที่กองทุนยังไม่ดำเนินการ สามารถนำงบ 7(4) มาใช้ดำเนินงานได้

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางและวิธีการในการจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชนลงในเว็บไซต์ โดยให้คณะกรรมการกองทุนและผู้เข้าร่วมประชุม ร่วมกันนำเสนอสถานการณ์ปัญหาสุขภาพในชุมชน และฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูลลงในเว็บไซต์

    ที่ประชุมมีมติและมอบหมายให้ รพสต.แค รพสต. คูนายสังข์ และหน่วยงานที่มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนประสานข้อมูลกับทางกองทุนเพื่อใช้ในการจัดทำแผนสุขภาพและบันทึกลงในเว็บไซต์ต่อไป และให้แล้วเสร็จก่อนเดือนธันวาคมเพื่อตรวจสอบความเรียบร้อย และพัฒนาโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนและเบิกจ่ายงบประมาณสนับสนุนในโอกาสต่อไป

     

    20 16

    3. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลคู ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 6 ธันวาคม 2560 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการประชุมร่วมกับคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลคู โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลคู เป็นประธานในการประชุม และปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลคู ทำหน้าที่เลขานุการ มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 23 ท่าน ประกอบด้วย คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลแค ตัวแทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคู ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านคูศักดิ์สิทธิ์ ประธาน อสม. ตำบลคู และตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้าน เริ่มประชุมเวลา 14.00 น.

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางในการดำเนินงานของกองทุนในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม ดังนี้

    1. ให้ทางกองทุนจัดทำข้อมูลประเมินผลการดำเนินงานและสรุปรายงานทางการเงิน ประจำปี 2560 ให้แล้วเสร็จก่อนสิ้นเดือนธันวาคม
    2. ให้ทางกองทุนตรวจสอบข้อมูลการจัดสรรค่าเหมาจ่ายรายหัว ได้จากเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล
    3. ให้กองทุนบันทึกข้อมูลโครงการบริหารจัดการกองทุนในแผนงานผ่านเว็บไซต์ โดยทาง สปสช. เขต 12 จะโอนเงินตามยอดจัดสรรแก่กองทุน หลังจากกองทุนบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน (ไม่เกินร้อยละ 15 ) แล้ว
    4. ให้กองทุนจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชน ในกรณีที่กองทุนยังไม่ดำเนินการ สามารถนำงบ 7(4) มาใช้ดำเนินงานได้

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางและวิธีการในการจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชนลงในเว็บไซต์ โดยให้คณะกรรมการกองทุนและผู้เข้าร่วมประชุม ร่วมกันนำเสนอสถานการณ์ปัญหาสุขภาพในชุมชน และฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูลลงในเว็บไซต์

    ที่ประชุมมีมติและมอบหมายให้ รพสต.คู และหน่วยงานที่มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนประสานข้อมูลกับทางกองทุนเพื่อใช้ในการจัดทำแผนสุขภาพและบันทึกลงในเว็บไซต์ต่อไป และให้แล้วเสร็จก่อนเดือนธันวาคมเพื่อตรวจสอบความเรียบร้อย และพัฒนาโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนและเบิกจ่ายงบประมาณสนับสนุนในโอกาสต่อไป

     

    20 23

    4. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลขุนตัดหวาย ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 7 ธันวาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการประชุมร่วมกับคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลขุนตัดหวาย โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลขุนตัดหวาย เป็นประธานในการประชุม มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 17 ท่าน ประกอบด้วย คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลขุนตัดหวาย ตัวแทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขุนตัดหวาย ตัวแทน อสม. ตำบลขุนตัดหวาย และตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้าน เริ่มประชุมเวลา 13.30 น.

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางในการดำเนินงานของกองทุนในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม ดังนี้

    1. ให้ทางกองทุนจัดทำข้อมูลประเมินผลการดำเนินงานและสรุปรายงานทางการเงิน ประจำปี 2560 ให้แล้วเสร็จก่อนสิ้นเดือนธันวาคม
    2. ให้ทางกองทุนตรวจสอบข้อมูลการจัดสรรค่าเหมาจ่ายรายหัว ได้จากเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล
    3. ให้กองทุนบันทึกข้อมูลโครงการบริหารจัดการกองทุนในแผนงานผ่านเว็บไซต์ โดยทาง สปสช. เขต 12 จะโอนเงินตามยอดจัดสรรแก่กองทุน หลังจากกองทุนบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน (ไม่เกินร้อยละ 15 ) แล้ว
    4. ให้กองทุนจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชน ในกรณีที่กองทุนยังไม่ดำเนินการ สามารถนำงบ 7(4) มาใช้ดำเนินงานได้

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางและวิธีการในการจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชนลงในเว็บไซต์ โดยให้คณะกรรมการกองทุนและผู้เข้าร่วมประชุม ร่วมกันนำเสนอสถานการณ์ปัญหาสุขภาพในชุมชน และฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูลลงในเว็บไซต์
    จากการร่วมกันจัดทำแผนงานและโครงการ พบว่า กองทุนสุขภาพตำบลขุนตัดหวาย มีโครงการรอการอนุมัติที่สอดคล้องกับประเด็นปัจจัยเสี่ยง ดังนี้

    1. โครงการประเด็นเหล้า เสนอโดยกลุ่ม อสม. หมู่ที่ 3 ตำบลขุนตัดหวาย
    2. โครงการประเด็นบุหรี่ เสนอโดย รพสต.ขุนตัดหวาย
    3. ประเด็นสารเสพติด เสนอโดย โรงเรียนวัดขุนตัดหวาย
    4. ประเด็นอาหารและโภชนาการ เสนอโดยศุนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านโอน และศุนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านป่าระไม
    5. ประเด็นการเพิ่มกิจกรรมทางกาย เสนอโดยชมรมผู้สูงอายุ ตำบลขุนตัดหวาย

    ที่ประชุมมีมติและมอบหมายให้ รพสต.ขุนตัดหวาย และหน่วยงานที่มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนประสานข้อมูลกับทางกองทุนเพื่อใช้ในการจัดทำแผนสุขภาพและบันทึกลงในเว็บไซต์ต่อไป และให้แล้วเสร็จก่อนเดือนธันวาคมเพื่อตรวจสอบความเรียบร้อย และพัฒนาโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนและเบิกจ่ายงบประมาณสนับสนุนในโอกาสต่อไป

     

    20 17

    5. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบล นาทับจัดทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกาย ครั้งที่ 1

    วันที่ 7 ธันวาคม 2560 เวลา 09.00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมชี้แจง  แนวทางการดำเนินงาน  และดำเนินการจัดทำแผนสุขภาพ  เรียงลำดับความสำคัญ    การบันทึกแผนสุขภาพในระบบออนไลน์

     

    15 25

    6. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลจะโหนง ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 8 ธันวาคม 2560 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชี้แจง แนวทาง ระเบียบการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2561  ความเป็นมาของการดำเนินงานกิจกรรมโครงการปัจจัยเสี่ยง  ในเรื่อง เหล้า  บุหรี่  สารเสพติด  โภชนาการ  การเคลื่อนไหวทางกาย

     

    15 20

    7. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลตลิ่งชัน ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 8 ธันวาคม 2560 เวลา 13:00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การจัดทำแผนงานโครงการ  การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา  การบันทึกในระบบโปรแกรมออนไลน์ 

     

    15 25

    8. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลนาหว้า ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 15 ธันวาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาด้านปัจจัยเสียง  และแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี 2561 โดยนัดจัดทำแผนในวันที่ 26 ธันวาคม 2560

     

    15 20

    9. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลสะกอม มีแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 15 ธันวาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการประชุมร่วมกับคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลสะกอม มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 16 ท่าน ประกอบด้วย คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลสะกอม ตัวแทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอม ตัวแทน อสม. ตำบลสะกอม ตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้าน และผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสะกอม เริ่มประชุมเวลา 13.30 น.

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางในการดำเนินงานของกองทุนในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม ดังนี้

    1. ให้ทางกองทุนจัดทำข้อมูลประเมินผลการดำเนินงานและสรุปรายงานทางการเงิน ประจำปี 2560 ให้แล้วเสร็จก่อนสิ้นเดือนธันวาคม
    2. ให้ทางกองทุนตรวจสอบข้อมูลการจัดสรรค่าเหมาจ่ายรายหัว ได้จากเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล
    3. ให้กองทุนบันทึกข้อมูลโครงการบริหารจัดการกองทุนในแผนงานผ่านเว็บไซต์ โดยทาง สปสช. เขต 12 จะโอนเงินตามยอดจัดสรรแก่กองทุน หลังจากกองทุนบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน (ไม่เกินร้อยละ 15 ) แล้ว
    4. ให้กองทุนจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชน ในกรณีที่กองทุนยังไม่ดำเนินการ สามารถนำงบ 7(4) มาใช้ดำเนินงานได้

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางและวิธีการในการจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชนลงในเว็บไซต์ โดยให้คณะกรรมการกองทุนและผู้เข้าร่วมประชุม ร่วมกันนำเสนอสถานการณ์ปัญหาสุขภาพในชุมชน และฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูลลงในเว็บไซต์
    จากการร่วมกันจัดทำแผนงานและโครงการ พบว่า กองทุนสุขภาพตำบลสะกอม มีโครงการรอการอนุมัติที่สอดคล้องกับประเด็นปัจจัยเสี่ยง คือ ประเด็นสารเสพติดและประเด็นการเพิ่มกิจกรรมทางกาย เสนอโดย โรงเรียนบ้านสะกอม

    ที่ประชุมมีมติและมอบหมายให้ รพสต.สะกอม และหน่วยงานที่มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนประสานข้อมูลกับทางกองทุนเพื่อใช้ในการจัดทำแผนสุขภาพและบันทึกลงในเว็บไซต์ต่อไป และให้แล้วเสร็จก่อนเดือนธันวาคมเพื่อตรวจสอบความเรียบร้อย และพัฒนาโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนและเบิกจ่ายงบประมาณสนับสนุนในโอกาสต่อไป

     

    15 16

    10. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลป่าชิง ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 19 ธันวาคม 2560 เวลา 13.00-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ด้านปัจจัยเสี่ยงในเรื่อง เหล้า  บุหรี่  สารเสพติด กาเคลื่อนไหวทางกาย  โภชนาการ  การจัดทำแนสุขภาพกองทุน  การจััดลำดับความสำคัญของปุญหา

     

    15 25

    11. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 19 ธันวาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการประชุมร่วมกับคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 16 ท่าน ประกอบด้วย คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น ตัวแทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น ตัวแทน อสม. ตำบลสะพานไม้แก่น ตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้าน และครูโรงเรียนบ้านทรายขาว เริ่มประชุมเวลา 13.30 น.

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางในการดำเนินงานของกองทุนในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม ดังนี้

    1. ให้ทางกองทุนจัดทำข้อมูลประเมินผลการดำเนินงานและสรุปรายงานทางการเงิน ประจำปี 2560 ให้แล้วเสร็จก่อนสิ้นเดือนธันวาคม
    2. ให้ทางกองทุนตรวจสอบข้อมูลการจัดสรรค่าเหมาจ่ายรายหัว ได้จากเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล
    3. ให้กองทุนบันทึกข้อมูลโครงการบริหารจัดการกองทุนในแผนงานผ่านเว็บไซต์ โดยทาง สปสช. เขต 12 จะโอนเงินตามยอดจัดสรรแก่กองทุน หลังจากกองทุนบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน (ไม่เกินร้อยละ 15 ) แล้ว
    4. ให้กองทุนจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชน ในกรณีที่กองทุนยังไม่ดำเนินการ สามารถนำงบ 7(4) มาใช้ดำเนินงานได้

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางและวิธีการในการจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชนลงในเว็บไซต์ โดยให้คณะกรรมการกองทุนและผู้เข้าร่วมประชุม ร่วมกันนำเสนอสถานการณ์ปัญหาสุขภาพในชุมชน และฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูลลงในเว็บไซต์

    ที่ประชุมมีมติและมอบหมายให้ รพสต.สะพานไม้แก่น และหน่วยงานที่มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนประสานข้อมูลกับทางกองทุนเพื่อใช้ในการจัดทำแผนสุขภาพและบันทึกลงในเว็บไซต์ต่อไป และให้แล้วเสร็จก่อนเดือนธันวาคมเพื่อตรวจสอบความเรียบร้อย และพัฒนาโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนและเบิกจ่ายงบประมาณสนับสนุนในโอกาสต่อไป

     

    20 16

    12. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลตลิ่งชัน ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 20 ธันวาคม 2560 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่วมประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง  การจัดทำแผนสุขภาพ และแนวทางการดำเนินตามแผนงานกิจกรรม  การบันทึกข้อมูลสุขภาพและแผนงานสุขภาพในระบบโปรแกรม

     

    25 25

    13. สนับสนุน กองทุนสุขภาพตำบลน้ำขาว ทำแผนสุขภาพชุมชนในประเด็น ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น บุหรี่ เหล้า สารเสพติด แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานเพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกายครั้งที่ 1

    วันที่ 26 ธันวาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการประชุมร่วมกับคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลน้ำขาว มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 35 ท่าน ประกอบด้วย คณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลน้ำขาว ตัวแทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำขาวและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะ ตัวแทน อสม. ตำบลน้ำขาว ตัวแทนคณะกรรมการหมู่บ้าน เริ่มประชุมเวลา 13.30 น.

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางในการดำเนินงานของกองทุนในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม ดังนี้ 1. ให้ทางกองทุนจัดทำข้อมูลประเมินผลการดำเนินงานและสรุปรายงานทางการเงิน ประจำปี 2560 ให้แล้วเสร็จก่อนสิ้นเดือนธันวาคม 2. ให้ทางกองทุนตรวจสอบข้อมูลการจัดสรรค่าเหมาจ่ายรายหัว ได้จากเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล 3. ให้กองทุนบันทึกข้อมูลโครงการบริหารจัดการกองทุนในแผนงานผ่านเว็บไซต์ โดยทาง สปสช. เขต 12 จะโอนเงินตามยอดจัดสรรแก่กองทุน หลังจากกองทุนบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน (ไม่เกินร้อยละ 15 ) แล้ว 4. ให้กองทุนจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชน ในกรณีที่กองทุนยังไม่ดำเนินการ สามารถนำงบ 7(4) มาใช้ดำเนินงานได้

    นายอะหมัด หลีขาหรี พี่เลี้ยงประจำกองทุนได้นำเสนอแนวทางและวิธีการในการจัดทำและบันทึกแผนสุขภาพชุมชนลงในเว็บไซต์ โดยให้คณะกรรมการกองทุนและผู้เข้าร่วมประชุม ร่วมกันนำเสนอสถานการณ์ปัญหาสุขภาพในชุมชน และฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูลลงในเว็บไซต์

    ที่ประชุมมีมติและมอบหมายให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำขาวและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะ และหน่วยงานที่มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนประสานข้อมูลกับทางกองทุนเพื่อใช้ในการจัดทำแผนสุขภาพและบันทึกลงในเว็บไซต์ต่อไป และให้แล้วเสร็จก่อนเดือนธันวาคมเพื่อตรวจสอบความเรียบร้อย และพัฒนาโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนและเบิกจ่ายงบประมาณสนับสนุนในโอกาสต่อไป

     

    20 35

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)
    10.00 5.00 0.00

     

    2 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
    30.00 40.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 35
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 30 35
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน (2) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ พัฒนาทีมพี่เลี้ยง สนับสนุนกองทุนฯนำร่อง ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตามประเมิน DHB อ.จะนะ จ.สงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ hsmi12-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด