กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L3070-1-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ยาบี
วันที่อนุมัติ 14 กรกฎาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวแมรี แวฮามะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายมะรอกี เวาะเลง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.782,101.246place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

“ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ” อาจจะไม่ใช่เรื่องใหม่สำหรับคนไทย แต่การรับรู้เกี่ยวกับโรคนี้ที่เป็นหนึ่งในสาเหตุการเสียชีวิตเรียกได้ว่ายังไม่แพร่หลายนัก อาจเพราะอาการของความผิดปกติที่ไม่แสดงออกมาอย่างชัดเจนเหมือนกับโรคหัวใจชนิดอื่นๆ จึงทำให้ผู้ป่วยไม่คิดว่านั่นคือความผิดปกติที่เกิดขึ้น เป็นอาการหัวใจเต้นผิดปกติที่พบบ่อยที่สุดและน่ากลัวที่สุด เป็นความผิดปกติของระบบไฟฟ้าหัวใจห้องบนที่รุนแรงที่สุด เรียกกันทั่วไปว่า เอเอฟ (AF : Atrial Fibrillation) หรือหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้อาจมีอัตราการเต้นของหัวใจถึง 400 ครั้งต่อนาที โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต     ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี ได้เล็งเห็นความสำคัญของโรคนี้ จึงได้จัดโครงการเฝ้าระวังภาวะโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ ในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2566
นี้ขึ้นมา เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในด้านสุขภาพ อีกทั้งยังเป็นการเฝ้าระวังภาวะโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ ในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไตอีกด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต มีความรู้ และมีทักษะในการดูแลตนเอง

1.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต ได้รับความรู้ และมีทักษะในการดูแลตนเอง

70.00
2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (AF) ทุกราย

2.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (AF)

70.00
3 3.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์วินิจฉัยเพื่อการรักษาต่อไป

3.ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์วินิจฉัยเพื่อการรักษาต่อทันที

70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 200 20,000.00 3 20,000.00
17 ก.ค. 66 ประชุมชี้แจงการดำเนินการโครงการให้กับเจ้าหน้าที่ และ อสม. 40 5,600.00 5,600.00
19 ก.ค. 66 ประชุมให้ความรู้เรื่อง สภาะโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ 80 10,800.00 10,800.00
19 ก.ค. 66 คัดกรองภาะโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (AF) 80 3,600.00 3,600.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต มีความรู้ และมีทักษะในการดูแลตนเองได้ 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (AF) ทุกราย 3.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและโรคไต ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์วินิจฉัยเพื่อการรักษาต่อไป

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ก.ค. 2566 15:22 น.