กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาต้านภัยยาเสพติดในเด็กและเยาวชน ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอามีเนาะ มะมิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาต้านภัยยาเสพติดในเด็กและเยาวชน

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4127-02-04 เลขที่ข้อตกลง 66-02-004

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาต้านภัยยาเสพติดในเด็กและเยาวชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาต้านภัยยาเสพติดในเด็กและเยาวชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาต้านภัยยาเสพติดในเด็กและเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4127-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอ เป็นการพัฒนาร่างกายและจิตใจ ช่วยป้องกันโรคและปรับปรุงร่างกายที่ทรุดโทรมให้กลับมามีสุขภาพแข็งแรงรวมทั้งเป็นการสร้างเสริมสุขภาพให้คนมีพัฒนาการทางด้านร่างกายสติปัญญา อารมณ์และสังคมก่อให้เกิดพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ การเล่นกีฬาทำให้เกิดรู้จักการทำงานร่วมกันเป็นทีม ปลูกฝังความสามัคคีของผู้ร่วมกิจกรรมให้เป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และเคารพในกฎ ระเบียบ กติกา ซึ่งการออกกำลังกายด้วยกิจกรรมกีฬาทำได้ในช่วงเวลาว่างจากการทำงาน จากการเรียนการเล่นกีฬายังช่วยให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติดได้อีกทางหนึ่ง ในปัจจุบันได้มีสื่อและสิ่งยั่วยุต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อเด็กๆ และเยาวชนเกิดขึ้นอย่างมากมาย ซึ่งอาจจะทำให้มีเยาวชนหรือผู้หลงผิดปฏิบัติตนไปในทางที่ไม่ควรหรืออาจจะเกิดจากการคบเพื่อนที่ไม่ดีชักชวนกันไปมั่วสุมอบายมุขต่างๆ ที่สร้างปัญหาให้แก่สังคม ดังนั้น กลุ่มเยาวชนร่วมพัฒนาหมู่บ้านบียอ จึงได้ของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะ จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาต้านภัยยาเสพติดในเด็กและเยาวชน ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อมุ่งหวังให้เด็กและเยาวชนในหมู่บ้านที่มีความสนใจในการเล่นกีฬาออกกำลังกายในเวลาว่าง เพราะนอกจากจะได้ฝึกทักษะการเล่นกีฬา หรือฝึกทักษะวิธีการออกกำลังกายทางกายที่เหมาะกับกลุ่มวัยแล้ว ยังได้สุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ยังใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์อีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
  3. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  4. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  5. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
  6. เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
  7. เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
  8. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์หลังเลิกเรียนและออกกำลังกาย
  9. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตใจ อารมณ์และสังคมที่ดีตามช่วงวัยที่เหมาะสม
  10. เพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้จัก กฎ กติกาและมารยาทในการเล่นกีฬา และเป็นคนที่มีน้ำใจเป็นนักกีฬา
  11. เพื่อแก้ไขปัญหาให้ห่างไกลจากยาเสพติด สื่ออินเตอร์เน็ตและอบายมุขต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้องปรึกษารูปแบบและรายละเอียดของโครงการ
  2. การดำเนินงานตามแผน (D)
  3. ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมตามโครงการและประเมินสมรรถภาพทางด้านร่างกายของผู้เข้าร่วมโครงการ
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกทักษะการออกกำลังกาย การเล่นกีฬา ตามแผนฯโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 160
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์หลังเลิกเรียนและออกกำลังกาย
    1. เด็กและเยาวชนมีสุขภาพจิตใจดี อารมณ์และสังคมที่ดีตามช่วงวัยที่เหมาะสม
    2. เด็กและเยาวชนรู้จักกฎ กติกา มีมารยาทที่ดีในการเล่นกีฬา และเป็นคนที่มีน้ำใจเป็นนักกีฬา
    3. เด็กและเยวชนห่างไกลจากยาเสพติด สื่ออินเตอร์เน็ตและอบายมุขต่างๆ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน
75.00 80.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
80.00 90.00

 

3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
85.00 90.00

 

4 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
75.00 85.00

 

5 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
75.00 90.00

 

6 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
85.00 90.00

 

7 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
65.00 90.00

 

8 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์หลังเลิกเรียนและออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์หลังเลิกเรียนและออกกำลังกาย
80.00

 

9 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตใจ อารมณ์และสังคมที่ดีตามช่วงวัยที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการส่งเสริมสุขภาพจิตใจ อารมณ์และสังคมที่ดีตามช่วงวัยที่เหมาะสม
80.00

 

10 เพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้จัก กฎ กติกาและมารยาทในการเล่นกีฬา และเป็นคนที่มีน้ำใจเป็นนักกีฬา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนรู้จัก กฎ กติกาและมารยาทในการเล่นกีฬา และเป็นคนที่มีน้ำใจเป็นนักกีฬา
85.00

 

11 เพื่อแก้ไขปัญหาให้ห่างไกลจากยาเสพติด สื่ออินเตอร์เน็ตและอบายมุขต่างๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ไขปัญหาให้ห่างไกลจากยาเสพติด สื่ออินเตอร์เน็ตและอบายมุขต่างๆ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 160
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด (3) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (4) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (5) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ (6) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (7) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน (8) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์หลังเลิกเรียนและออกกำลังกาย (9) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตใจ อารมณ์และสังคมที่ดีตามช่วงวัยที่เหมาะสม (10) เพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้จัก กฎ กติกาและมารยาทในการเล่นกีฬา และเป็นคนที่มีน้ำใจเป็นนักกีฬา (11) เพื่อแก้ไขปัญหาให้ห่างไกลจากยาเสพติด สื่ออินเตอร์เน็ตและอบายมุขต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้เกี่ยวข้องปรึกษารูปแบบและรายละเอียดของโครงการ (2) การดำเนินงานตามแผน (D) (3) ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรมตามโครงการและประเมินสมรรถภาพทางด้านร่างกายของผู้เข้าร่วมโครงการ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกทักษะการออกกำลังกาย การเล่นกีฬา ตามแผนฯโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาต้านภัยยาเสพติดในเด็กและเยาวชน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4127-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอามีเนาะ มะมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด