กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ วัยใส วัยเรียน ร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติดในสถานศึกษา
รหัสโครงการ 66-L5295-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านทุ่งดินลุ่ม
วันที่อนุมัติ 19 กรกฎาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 19 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 26,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอุสมาน กาเจ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.048,99.817place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 164 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เยาวชน คืออนาคตของชาติ ปัจจุบัน สังคมไทย กำลังประสบปัญหาวิกฤตจากสถานการณ์ปัญหายาเสพติดที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุ่นแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน เป็นผลให้เยาวชน หลงผิด เข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคล ซึ่งเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดให้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัว และอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราว และการก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ซึ่งทำให้ผลกระทบต่อสังคมโดยรวม ซึ่งปัจจุบันนี้ รัฐบาลได้มีนโยบายในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ตามยุทธศาสตร์ ๕ รั้ว ป้องกันนี้ จะเห็นได้ว่า รั้วเยาวชนและรั้วโรงเรียน เป็นยุทธศาสตร์ที่รัฐบาลให้ความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นรากฐานและทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ ดังนั้น โรงเรียนบ้านทุ่งดินลุ่ม จึงได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าทุกภาคส่วนของสังคม ควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาร่วมกัน การปล่อยให้เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือหน่วยงานภาครัฐ รับผิดชอบเพียงฝ่ายเดียว ไม่เพียงพอ และจะทำให้ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดรุนแรงขึ้น จึงได้ถือโอกาสจัดทำโครงการ      “วัยใส วัยเรียน รวมใจ ต้านภัยยาเสพติดในสถานศึกษา” ขึ้น เพื่อเป็นการสนองต่อนโยบายรัฐบาล ในการนำสังคมไทยไปสู่สังคมที่พึงปรารถนา คือสังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้ และรับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด

เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจมากกว่าร้อยละ ๘๐ (วัดจากแบบทดสอบก่อน-หลังอบรม)

80.00
2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจ ให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข ด้วยวิถีแห่งหลักธรรม

จำนวนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมและเล่นกีฬาของนักเรียน

50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้เยาวชนได้รับรู้ และรับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกาย จิตใจ ให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข ด้วยวิถีแห่งหลักธรรม

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

19 - 29 ก.ค. 66 อบรมให้ความรู้ 0.00 18,150.00 -
19 - 27 ก.ค. 66 เดินรณรงค์ต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน 0.00 7,850.00 -
27 ก.ค. 66 เดินรณรงค์ต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน 194.00 7,850.00 -
19 ส.ค. 66 อบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติดและทักษะการป้องกันตัวเอง 194.00 18,150.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และรับรู้ถึงปัญหายาเสพติดและพิษภัยของยาเสพติดได้มากขึ้น ๒ ผู้เข้ารับการอบรม สามารถเป็นแกนนำในการป้องกันและต่อต้านการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชนได้
๓ ผู้รับการอบรม มีทักษะชีวิต และสามารถรู้จักการปฏิเสธ ไม่เข้าใกล้ยาเสพติด ๔ เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายและจิตใจ ห่างไกลยาเสพติด ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
๕ ในโรงเรียนไม่มีปัญหายาเสพติด
๖ เด็กนักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ได้แก่ เข้าร่วมการเล่นกีฬาของโรงเรียน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.ค. 2566 16:25 น.