กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก


“ โครงการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนตำบลช้างให้ตก ประจำปี 2566 ”

ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสันติพงษ์ สืบสม

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนตำบลช้างให้ตก ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2976-10(1)-001 เลขที่ข้อตกลง 003/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนตำบลช้างให้ตก ประจำปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนตำบลช้างให้ตก ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนตำบลช้างให้ตก ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L2976-10(1)-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคภัยไข้เจ็บเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเสี่ยงได้ ทุกวันนี้ เราจึงได้ยินข่าวการเจ็บป่วยบ่อยมาก เดี๋ยวลูกบ้านโน้นเป็นไข้....เดี๋ยวหลานบ้านนั้นท้องเสีย....พ่อเฒ่าข้างบ้านเป็นอัมพาตเดินไม่ได้....น้าคนนี้ก็เป็นทั้งเบาหวานความดัน...บ้านถัดไปซื้อหอยแครงมากินแล้วท้องเสียทั้งบ้าน....เจ้าหน้าที่สาธารณสุขบอกว่ามีเด็กเป็นไข้เลือดออกอยู่ที่โรงพยาบาล....หนังสือพิมพ์ก็ลงข่าวว่ามีโรคอีโบล่าระบาดในเมืองนอก ในจำนวนการเจ็บป่วยทั้งหลาย โรคระบาดนับว่าอันตรายและทำให้เกิดความเสียหายมากที่สุด เพราะเป็นโรคที่เกิดกับคนจำนวนมาก อย่างรวดเร็ว หลายโรคทำให้เสียชีวิต เสียสุขภาพ หรือเสียทรัพย์สินโรคระบาดสามารถป้องกันได้ หรือลดความรุนแรงได้ด้วยวิธีการป้องกันควบคุมโรคอย่างเป็นระบบ ถูกวิธีรวดเร็ว และด้วยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ก็สามารถช่วยบรรเทา และลดปัญหาโรคระบาดได้โรคระบาดมีหลายแบบ การเจ็บป่วยทุกอย่างทำให้เกิดการระบาดได้ ถ้ามีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้1. มีจำนวนผู้ป่วยมากกว่าจำนวนปกติที่เคยมี หรือมากกว่าจำนวนที่คาดว่าจะมีได้ในช่วงเวลาหนึ่ง เช่นหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ปกติจะมีผู้ป่วยอุจจาระร่วงวันละ 1-2 ราย ถ้ามีผู้ป่วยเพิ่มเป็น 5 รายในวันเดียวกัน เรียกว่า "โรคอุจจาระร่วระบาด" 2. มีผู้ป่วยพร้อมกันจำนวนมาก (ตั้งแต่สองรายขึ้นไป) หลังจากไปร่วมกิจกรรมบางอย่างด้วยกันมา เช่น มีผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษพร้อมกันมากกว่า 10 ราย หลังจากที่ไปร่วมงานเลี้ยงในงานแต่งงานแห่งหนึ่ง เรียกได้ว่า "โรคอาหารเป็นพิษระบาด" 3. มีผู้ป่วยเป็นโรคที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดว่า เป็นโรคอันตราย แม้เพียง 1 ราย เช่น อหิวาตกโรค โรคไข้หวัดนก โรคโปลิโอ โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น 4. มีผู้ป่วยเป็นโรคที่ไม่รู้จัก หรือเหตุการณ์ที่ไม่เคยพบในพื้นที่มาก่อน ให้นับว่าเป็นการระบาดไว้ก่อน เช่น ไก่ป่วยตายผิดปกติจำนวนมาก ตัวอย่างชื่อโรคที่ทำให้เกิดการระบาดได้บ่อยในพื้นที่ต่างๆ โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุลาย โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้ฉี่หนู โรคตาแดง (ชนิดระบาด)โรคหัด ฯลฯโรคระบาดมีความสำคัญ เพราะทำให้เกิดความสูญเสีย และพบการเกิดโรคระบาดบ่อยครั้งมากขึ้นทุกขณะตัวอย่างความสูญเสียจากโรคระบาด เช่นทำให้มีผู้เสียชีวิตก่อนวัยอันสมควรผู้ป่วยและญาติ ทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยเกิดความเครียด วิตกกังวล และมีปัญหาสุขภาพจิตผู้ป่วยและญาติ ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาล และสูญเสียรายได้จากการไปทำงานไม่ได้ประเทศชาติสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น โรคไข้หวัดนก ทำให้เป็ด ไก่ และไข่ขายไม่ใด้ ต้องทำลายทิ้ง จำนวนมหาศาลทุกวันนี้ มีแนวโน้มที่จะพบโรคระบาดบ่อยขึ้น ความรุนแรงเพิ่มขึ้น และมีโรคชนิดใหม่ๆ มากขึ้น ในปีที่ผ่านมา ตำบลช้างให้ตก ก็พบผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อแล้วหลายราย เช่นโรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรควัณโรค โรคเลปโตสไปโรสิส (ฉี่หนู) โรคมือเท้าปาก เป็นต้น ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลช้างให้ตก จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้คนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน 2. เพื่อเน้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของโรคติดต่อและมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคคิดต่อน 3. เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อในชุมชนตำบลช้างให้ตก ประจำปี 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ที่เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เรื่องโรคติดต่อมากกว่า ร้อยละ 80
  2. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน และมีแนวทางป้องกันโรค
  3. ประชาชนสามารถดูแลตนเองและครอบครัว ไม่ให้เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ
  4. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในชุมชนตำบลช้างให้ตก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้คนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน 2. เพื่อเน้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของโรคติดต่อและมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคคิดต่อน 3. เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้คนในชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อและการป้องกัน 2. เพื่อเน้นให้ชุมชนตระหนักถึงอันตรายของโรคติดต่อและมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคคิดต่อน 3. เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อในชุมชนตำบลช้างให้ตก  ประจำปี 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันโรคติดต่อในชุมชนตำบลช้างให้ตก ประจำปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2976-10(1)-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสันติพงษ์ สืบสม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด