กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะกำ


“ โครงการ Kick Off มอบชุดตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองที่บ้านสะกำ 2566 ”

ตำบลสะกำ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาดียะห์ หัสมา

ชื่อโครงการ โครงการ Kick Off มอบชุดตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองที่บ้านสะกำ 2566

ที่อยู่ ตำบลสะกำ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-l3007-07-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กรกฎาคม 2023 ถึง 30 กันยายน 2023


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ Kick Off มอบชุดตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองที่บ้านสะกำ 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะกำ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะกำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ Kick Off มอบชุดตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองที่บ้านสะกำ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ Kick Off มอบชุดตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองที่บ้านสะกำ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะกำ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-l3007-07-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กรกฎาคม 2023 - 30 กันยายน 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะกำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีทั่วโลก รองลงมาจากมะเร็งเต้านม สำหรับในประเทศไทยมะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในมะเร็งของสตรีไทย สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกที่แท้จริงไม่ทราบแน่นอน แต่สาเหตุสำคัญเท่าที่วิทยาการทางการแพทย์ตรวจพบได้ในปัจจุบัน คือ การติดเชื้อ human papilloma virus หรือ HPV บริเวณปากมดลูก  เป็นสาเหตุจำเพาะของมะเร็งปากมดลูก ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ เป็นเพียงปัจจัยส่งเสริมทำให้ปากมดลูกมีโอกาสติดเชื้อ HPV ได้มากขึ้นหรือง่ายขึ้น เช่นการมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย หรือการตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อย มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ในผู้หญิงไทย และจะมีอัตราการเสียชีวิต เกินครึ่งหนึ่งเลยทีเดียว และเป็นต้นเหตุทำให้ผู้หญิงทั่วโลกเสียชีวิตมากกว่าปีละ 270,000 คน หรือเฉลี่ยวันละ 650 คน โดยมีสถิติของผู้เสียชีวิตเฉลี่ยสูงถึง 7 คนต่อวัน จากสถิติในปี 2550 พบผู้ป่วยใหม่ ประมาณ 7,000 ราย มีผู้เสียชีวิต ประมาณ 3,500 ราย หรือ 9 รายต่อวัน แต่โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หาย และมีความเป็นไปได้ในการที่จะกำจัดให้หมดไปจากประเทศไทย หากตรวจพบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก หรือระยะก่อนเป็นมะเร็ง ปัญหาสำคัญคือ คนไทยร้อยละ 50 มักไปพบแพทย์ขณะที่โรคลุกลามแล้ว ซึ่งยากต่อการรักษาให้หาย ผู้ป่วยมักเสียชีวิต รวมทั้งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจำนวนมาก ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสาปจึงเห็นความสำคัญของการป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูกโดยการตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งปากมดลูกในสตรีเป้าหมายกลุ่มอายุ 30-70 ปี จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกำ ปี 2558-2566 พบว่าได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรวม 2 ราย พบผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติส่งต่อไปตรวจซ้ำที่รพ.ปัตตานี ผลปกติ จำนวน ราย ไม่พบผู้ป่วยรายใหม่ การตรวจคัดกรองมะเร้งเต้านมจำนวน 1,250 ราย มีอาการผิดปกติและได้รับการส่งต่อจำนวน 2 ราย พบผู้ป่วย 1 รายและปกติ 1 ราย ผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาและได้เสียชีวิตลงอย่างสงบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกำ เห็นความสำคัญในการป้องกันมากกว่าการรักษาโรค โดยเฉพาะการตรวจคัดกรองค้นหาโรคระยะแรกในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดอัตราอุบัติการณ์รายใหม่ได้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกำ จึงได้จัดทำโครงการรู้ทันโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกมอบชุดตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองที่บ้านสะกำ ปีงบประมาณ 2566 ขึ้นโดยเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองหา Cell มะเร็งปากมดลูกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
  2. หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น
  3. หญิงอายุ 30-60 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 225
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ลดอัตราการตายโดยสาเหตุจากโรคมะเร้งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก 2. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก 3. สตรีที่ตรวจพบโรคมะเร็งเต้านมและมะเร้งปามดลูกได้รับการรักษาที่ถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 80

     

    2 หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 20

     

    3 หญิงอายุ 30-60 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้หญิงอายุ 30-70 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 225
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 225
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น (2) หญิงอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น (3) หญิงอายุ 30-60 ปี ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและการรักษาที่ถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ Kick Off มอบชุดตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองที่บ้านสะกำ 2566 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-l3007-07-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนาดียะห์ หัสมา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด