กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการทีมผู้ก่อการดีลำใหม่ ป้องกันภัยเด็กจมน้ำ
รหัสโครงการ 66-L7929-(02)-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เทศบาลตำบลลำใหม่
วันที่อนุมัติ 20 กรกฎาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤศจิกายน 2566
งบประมาณ 19,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอัสมี มะโร๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.583,101.205place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ส.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 19,000.00
รวมงบประมาณ 19,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทย ที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุกๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุก ๆ 1 เดือน จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตประมาณ 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา มีอัตราเด็กจมน้ำเสียชีวิตถึง 10,932 คน โดยเฉพาะช่วงนี้เป็นช่วงปิดเทอมผู้ปกครองส่วนใหญ่จะให้พี่ดูแลน้องหรือผู้สูงอายุดูแลเด็กและมักจะพบว่าในช่วงปิดภาคเรียน (มีนาคม – พฤษภาคม ) ของทุกปี เป็นช่วงที่มีสถิติเด็กจมน้ำมากที่สุด สำหรับพื้นที่ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลลำใหม่ แม้จะไม่มีสถิติเด็กจมน้ำเสียชีวิต แต่จากสภาพพื้นที่ ที่มีแหล่งน้ำซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงในการที่จะเกิดเด็กจมน้ำได้นั้น ดังนั้นหากจะมีการป้องกัน การจมน้ำของเด็ก และกลุ่มเด็กๆ ซึ่งมีความเสี่ยง กอปรกับผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก ไม่มีความระมัดระวัง ในการดูแลลูกหลาน ปล่อยให้ไปเล่นน้ำตามลำพัง ซึ่งอาจเป็นสาเหตุทำให้เด็กจมน้ำเสียชีวิตได้ ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลลำใหม่ จึงได้จัดทำโครงการทีมผู้ก่อการดีลำใหม่ ป้องกันภัยเด็กจมน้ำ ประจำปี 2566 เพื่อเด็กและประชาชนได้มีการฝึกทักษะการว่ายน้ำและการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมอบรม สามารถลอยตัวในน้ำและช่วยเหลือตนเองได้จากการจมน้ำ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะในการช่วยเหลือเด็กจมน้ำอย่างถูกวิธี
  1. เด็ก เยาวชน ครู ก. และเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 40 คน
  2. ไม่พบอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเขตเทศบาลตำบลลำใหม่
40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณส.ค. 66ก.ย. 66
1 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ และการปฐมพยาบาลช่วยเหลือเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพให้แก่เด็กจมน้ำ(1 ส.ค. 2566-30 ก.ย. 2566) 0.00    
2 ฝึกปฏิบัติทักษะการลอยตัวในน้ำ และการทักษะขอความช่วยเหลือ “ตะโกน โยน ยื่น” เวลาจมน้ำ และการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ(1 ส.ค. 2566-30 ก.ย. 2566) 0.00    
รวม 0.00
1 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันเด็กจมน้ำ และการปฐมพยาบาลช่วยเหลือเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพให้แก่เด็กจมน้ำ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 ฝึกปฏิบัติทักษะการลอยตัวในน้ำ และการทักษะขอความช่วยเหลือ “ตะโกน โยน ยื่น” เวลาจมน้ำ และการช่วยเหลือเด็กจมน้ำ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กและเยาวชนที่ผ่านกิจกรรมอบรม สามารถลอยตัวในน้ำ และมีทักษะในการช่วยเหลือเด็กจมน้า
  2. ประชาชนและเด็กที่ผ่านกิจกรรมอบรม มีความรู้และมีทักษะในการช่วยเหลือเด็กจมน้ำอย่างถูกวิธี และสามารถบอกต่อ หรือให้ความรู้เพื่อการกระตุ้นเตือน การป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำให้แก่เพื่อนในชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ก.ค. 2566 11:47 น.