กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การจัดการขยะระดับหมู่บ้านและตำบล
รหัสโครงการ L4844-001-66
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลโนนสำราญ
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 88,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. นายชูชาติ ซาเสน รองปลัด อบต. 2. นางวาสนา คำนนท์ รก.หัวหน้าสำนักปลัด 3. นายจิรกร สิงซอม ผู้ช่วยนักวิชาการเกษตร
พี่เลี้ยงโครงการ 1. นายชูชาติ ซาเสน รก.ปลัด อบต. 2. นางวาสนา คำนนท์ รก.หัวหน้าสำนักปลัด อบต.
พื้นที่ดำเนินการ เขต ตำบลโนนสำราญ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 11 หมู่บ้าน
ละติจูด-ลองจิจูด 14.5204,104.812531place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 3 ต.ค. 2565 30 ก.ย. 2566 77,246.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 77,246.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (77,246.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (88,000.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 1600 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
180.00
2 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
4.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
65.45
4 ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
79.80
5 ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
90.29
6 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
82.35
7 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
45.45

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

180.00 100.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

4.00 8.00
3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

65.45 80.00
4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า

79.80 90.00
5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

90.29 100.00
6 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

82.35 90.00
7 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ

45.45 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตำบลเพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยและขับเคลื่อนกิจกรรมต่างในพื้นที่ สอดคล้องกับแผนงานระดับอำเภอ จังหวัดและกรมส่งเสริมฯ กระทรวงมหาดไทย(1 ต.ค. 2565-31 ต.ค. 2565) 3,000.00                        
2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือน สร้างการรับรู้และส่งเสริมการสร้างวินัยในการทิ้งและการจัดการขยะชุมชน(1 พ.ย. 2565-31 ธ.ค. 2565) 5,000.00                        
3 การปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึกแก่เด็ก นักเรียน ชุมชน หมู่บ้าน ในการจัดการขยะมูลฝอย(1 ม.ค. 2566-31 ม.ค. 2566) 14,000.00                        
4 การจัดทำถังขยะเปียกหรือถังขยะเปียกครัวเรือน ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้โครงการ "ถังขยะเปียก ลดโลกร้อนของ อปท. ประเทศไทย" ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐาน ของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น(1 ม.ค. 2566-30 ก.ย. 2566) 40,000.00                        
5 การตั้งกลุ่มกิจกรรม เพื่อดำเนินกิจกรรมนำขยะไปใช้ประโยชน์ หรือสร้างรายได้ เช่น กิจกรรม กองทุนขยะตำบล, ตลาดนัดขยะ ฯลฯ(1 ก.พ. 2566-30 ก.ย. 2566) 10,000.00                        
6 การจัดกิจกรรมตามโครงการวัดประชา รัฐ สร้างสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน(1 ก.พ. 2566-30 ก.ย. 2566) 6,000.00                        
7 การจัดกิจกรรม ทำความสะอาดภายในหมู่บ้าน/ชุมชม/ส่วนราชการ (Big Cleaning Day) ตามแผนงานที่อบต.กำหนดไว้(9 พ.ย. 2566-9 พ.ย. 2566) 10,000.00                        
รวม 88,000.00
1 การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตำบลเพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยและขับเคลื่อนกิจกรรมต่างในพื้นที่ สอดคล้องกับแผนงานระดับอำเภอ จังหวัดและกรมส่งเสริมฯ กระทรวงมหาดไทย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 3,000.00 1 3,000.00
24 ต.ค. 65 การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมุลฝอยระดับหมู่บ้านและระดับตำบล 30 3,000.00 3,000.00
2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือน สร้างการรับรู้และส่งเสริมการสร้างวินัยในการทิ้งและการจัดการขยะชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 300 5,000.00 1 5,000.00
18 ม.ค. 66 การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ และการออกกิจกรรมรณรงค์การเสริมสร้างรับรู้กรจัดการขยะชุมชน 300 5,000.00 5,000.00
3 การปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึกแก่เด็ก นักเรียน ชุมชน หมู่บ้าน ในการจัดการขยะมูลฝอย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 500 14,000.00 1 14,000.00
1 ก.พ. 66 อบรม/รณรงค์ให้ความรู้เสริมสร้างวินัยและจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนปลอดขยะ ห่างไกลโรค 500 14,000.00 14,000.00
4 การจัดทำถังขยะเปียกหรือถังขยะเปียกครัวเรือน ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้โครงการ "ถังขยะเปียก ลดโลกร้อนของ อปท. ประเทศไทย" ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐาน ของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 1100 40,000.00 1 29,246.00
26 ธ.ค. 65 จัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน 1,100 40,000.00 29,246.00
5 การตั้งกลุ่มกิจกรรม เพื่อดำเนินกิจกรรมนำขยะไปใช้ประโยชน์ หรือสร้างรายได้ เช่น กิจกรรม กองทุนขยะตำบล, ตลาดนัดขยะ ฯลฯ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 85 10,000.00 1 10,000.00
11 พ.ย. 66 กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน 85 10,000.00 10,000.00
6 การจัดกิจกรรมตามโครงการวัดประชา รัฐ สร้างสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 250 6,000.00 1 6,000.00
9 พ.ค. 66 5 ส วัดประรัฐ สรา้งสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 250 6,000.00 6,000.00
7 การจัดกิจกรรม ทำความสะอาดภายในหมู่บ้าน/ชุมชม/ส่วนราชการ (Big Cleaning Day) ตามแผนงานที่อบต.กำหนดไว้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 1100 10,000.00 1 10,000.00
10 ม.ค. 66 การเก็บขยะ และคัดแยกขยะ การกำจัดสิ่งปฎิกูลที่อยู่ในพื้นที่สาธารณะของชุมชน/หมู่บ้าน 1,100 10,000.00 10,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีแนวทางร่วมกันขั้นตอน วิธีการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตลอดจนกิจกรรมการต่างในการขับเคลื่อนการจัดการขยะมูลฝอยในหมู่บ้านและภาพรวมในระดับตำบล
  2. มีการลงบันทึกความตกลงความร่วมมือ ในระดับ อปท. องค์กรภาครัฐ และหมู่บ้าน/ชุมชน
  3. สร้างการรับรู้และส่งเสริมการสร้างวินัยในการทิ้งและการจัดการขยะชุมชน
  4. ตระหนักและมีวินัยในการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน ครัวเรือน ตามหลัก 3 ช. (3Rs) 2.สถานศึกษาเกิดการตระหนักและมีวินัยในการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3 ช. (3Rs)
  5. เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชนที่ตกค้างตามที่สาธารณะ
  6. การกำจัดแหล่งสิ่งปฏิกูล หรือแหล่งพาหนะนำโรคเพื่อป้องกันการเกิดเกิดมลพิษ และโรคต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นในชุมชน
  7. สร้างกลุ่มการจัดการขยะภายในชุมชนและขับเคลื่อนงานอย่างเป็นระบบและเชื่อมโยงกิจกรรมทั้งตำบล
  8. ส่วยราชการ/องค์กรภาคีเครือข่ายประชาชน และทุกครัวเรือนมีการจัดทำถังขยะเปียก/ขยะอินทรีย์เพื่อใช้ในการจัดการคัดแยกขยะที่ต้นทางและใช้ประโยชน์จากขยะอย่างเหมาะสม ร้อยละ 95
  9. มีกลุ่มแกนนำของชุมชนและมีการดำเนินกิจกรรมอย่างน้อย จำนวน 5 หมู่บ้านขึ้นไปเพื่อขับเคลื่อนการจัดการขยะของตนเอง
  10. เพื่อพื้นที่ทางกายภาพของวัด และชุมชนให้สะอาด ร่มรื่น สวยงามเป็นสถานที่สัปปายะ
  11. พัฒนาพื้นที่ทางสังคมและการเรียนรู้ของวัด และชุมชนด้วยวิถีวัฒนธรรมเชิงพุทธ 3. วัดสร้างสุขทางปัญญาด้วยแนวทาง 5ส. (สะสาง สะดวก สะอาด สร้างมาตรฐาน สร้างนิสัย)
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.ค. 2566 16:44 น.