กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (4) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) (5) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (6) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (7) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตำบลเพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยและขับเคลื่อนกิจกรรมต่างในพื้นที่ สอดคล้องกับแผนงานระดับอำเภอ จังหวัดและกรมส่งเสริมฯ กระทรวงมหาดไทย (2) การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือน สร้างการรับรู้และส่งเสริมการสร้างวินัยในการทิ้งและการจัดการขยะชุมชน (3) การปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึกแก่เด็ก นักเรียน ชุมชน หมู่บ้าน ในการจัดการขยะมูลฝอย (4) การจัดทำถังขยะเปียกหรือถังขยะเปียกครัวเรือน ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้โครงการ "ถังขยะเปียก ลดโลกร้อนของ อปท. ประเทศไทย" ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐาน ของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (5) การตั้งกลุ่มกิจกรรม เพื่อดำเนินกิจกรรมนำขยะไปใช้ประโยชน์ หรือสร้างรายได้ เช่น กิจกรรม กองทุนขยะตำบล, ตลาดนัดขยะ ฯลฯ (6) การจัดกิจกรรมตามโครงการวัดประชา รัฐ สร้างสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (7) การจัดกิจกรรม ทำความสะอาดภายในหมู่บ้าน/ชุมชม/ส่วนราชการ (Big Cleaning Day) ตามแผนงานที่อบต.กำหนดไว้ (8) การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมุลฝอยระดับหมู่บ้านและระดับตำบล (9) จัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน (10) การเก็บขยะ และคัดแยกขยะ การกำจัดสิ่งปฎิกูลที่อยู่ในพื้นที่สาธารณะของชุมชน/หมู่บ้าน (11) การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ และการออกกิจกรรมรณรงค์การเสริมสร้างรับรู้กรจัดการขยะชุมชน (12) อบรม/รณรงค์ให้ความรู้เสริมสร้างวินัยและจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนปลอดขยะ ห่างไกลโรค (13) 5 ส  วัดประรัฐ สรา้งสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (14) กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ