กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
180.00 100.00 120.00

ข้อมูลจาก ระบบบันทึกข้อมูลขยะ อปท. มฝ.1 และ มฝ.2 (DLA_WASTE) ปีงบประมาณ 2566

2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
4.00 8.00 9.00

จำนวน หมู่บ้าน ฐานข้อมูล อปท. 11 หมู่บ้าน

3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
65.45 80.00 85.00

ครัวเรือนในระบบฐานข้อมูล อปท. 1100 ครัวเรือน

4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
79.80 90.00 91.00

ครัวเรือนในระบบฐานข้อมูล อปท. 1100 ครัวเรือน

5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
90.29 100.00 100.00

ครัวเรือนในระบบฐานข้อมูล อปท. 1100 ครัวเรือน

6 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
82.35 90.00 100.00

ครัวเรือนในระบบฐานข้อมูล อปท. 1100 ครัวเรือน

7 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
45.45 70.00 72.72

จำนวน หมู่บ้าน ฐานข้อมูล อปท. 11 หมู่บ้าน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,600 1,600
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (4) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) (5) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (6) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (7) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตำบลเพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยและขับเคลื่อนกิจกรรมต่างในพื้นที่ สอดคล้องกับแผนงานระดับอำเภอ จังหวัดและกรมส่งเสริมฯ กระทรวงมหาดไทย (2) การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ แจ้งเตือน สร้างการรับรู้และส่งเสริมการสร้างวินัยในการทิ้งและการจัดการขยะชุมชน (3) การปลูกฝัง และสร้างจิตสำนึกแก่เด็ก นักเรียน ชุมชน หมู่บ้าน ในการจัดการขยะมูลฝอย (4) การจัดทำถังขยะเปียกหรือถังขยะเปียกครัวเรือน ตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้โครงการ "ถังขยะเปียก ลดโลกร้อนของ อปท. ประเทศไทย" ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐาน ของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (5) การตั้งกลุ่มกิจกรรม เพื่อดำเนินกิจกรรมนำขยะไปใช้ประโยชน์ หรือสร้างรายได้ เช่น กิจกรรม กองทุนขยะตำบล, ตลาดนัดขยะ ฯลฯ (6) การจัดกิจกรรมตามโครงการวัดประชา รัฐ สร้างสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (7) การจัดกิจกรรม ทำความสะอาดภายในหมู่บ้าน/ชุมชม/ส่วนราชการ (Big Cleaning Day) ตามแผนงานที่อบต.กำหนดไว้ (8) การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมุลฝอยระดับหมู่บ้านและระดับตำบล (9) จัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อนในครัวเรือน (10) การเก็บขยะ และคัดแยกขยะ การกำจัดสิ่งปฎิกูลที่อยู่ในพื้นที่สาธารณะของชุมชน/หมู่บ้าน (11) การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ และการออกกิจกรรมรณรงค์การเสริมสร้างรับรู้กรจัดการขยะชุมชน (12) อบรม/รณรงค์ให้ความรู้เสริมสร้างวินัยและจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนปลอดขยะ ห่างไกลโรค (13) 5 ส  วัดประรัฐ สรา้งสุข เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (14) กลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ระดับหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh