กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการดี พัฒนาการเด่น
รหัสโครงการ 66 - L4127 - 01 - 07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะ
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2566
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายฟากรี ดาหะซี
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนูรอีมานี หะมะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
85.00
2 ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
85.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กวัย 0-5 ปี เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของทั้งร่างกายและสติปัญญา หากเด็กได้รับการส่งเสริมที่ถูกต้องภาวะโภชนาการและพัฒนาการของเด็กก็จะสมวัย ปัจจุบันเด็กวัย 0 – 5 ปี มักพบภาวะโภชนาการต่ำ พัฒนาการล่าช้า สาเหตุสำคัญที่พบ คือ เกิดจากภาวะซีด ซึ่งภาวะซีดได้แก่ ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะซีดที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็ก ส่วนสาเหตุที่พบได้รองลงมา คือ โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นโลหิตจางทางพันธุกรรม พบได้บ่อยในประเทศไทยเช่นกัน ภาวะซีดจะมีผลต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ที่ลดลง เมื่อเทียบกับเด็กที่ไม่มีภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก หากเด็กวัย 6 เดือน -1ปี ได้รับการคัดกรองและรักษาอย่างทันท่วงที อัตราการเกิดภาวะซีดก็จะลดลง ทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเจาะได้เล็งเห็นถึงปัญหา จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

85.00 90.00
2 เพื่อเพิ่มเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

85.00 802.00
3 เด็กวัย 6 เดือน – 1 ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อประเมินภาวะซีด

ร้อยละของเด็กวัย 6 เดือน – 1 ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อประเมินภาวะซีด

80.00
4 เด็กที่มีภาวะซีดได้รับยาเสริมธาตุเหล็กเพื่อรักษาภาวะซีด

ร้อยละเด็กที่มีภาวะซีดได้รับยาเสริมธาตุเหล็กเพื่อรักษาภาวะซีด

70.00
5 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องอาหารที่ส่งเสริมโภชนาการและมีความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กอายุ 0 – 5 ปี

ร้อยละของผู้ปกครองมีความรู้เรื่องอาหารที่ส่งเสริมโภชนาการและมีความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กอายุ 0 – 5 ปี

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 ขั้นดำเนินการ(1 ก.ค. 2566-30 ธ.ค. 2566) 30,000.00      
รวม 30,000.00
1 ขั้นดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 115 30,000.00 0 0.00
1 ก.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 1. กิจกรรมรณรงค์ คัดกรองภาวะซีด โดยการเจาะเลือดเด็ก อายุ 6 เดือน – 1 ปี และจ่ายยาธาตุเหล็กในเด็กที่พบภาวะซีดเพื่อรักษาและจ่ายยาธาตุเหล็กเพื่อป้องกันโรค 45 1,350.00 -
1 ก.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 อบรมผู้ปกครองเด็กที่มีอายุ 0 – 5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ 70 28,650.00 -
  1. จัดทำโครงการ เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. กำหนดการจัดโครงการ
  4. ประเมินผลโครงการ สรุปผลการประเมิน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กวัย 6 เดือน – 1 ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อประเมินภาวะซีด
  2. เด็กที่มีภาวะซีดได้รับยาเสริมธาตุเหล็กเพื่อรักษาภาวะซีด
  3. ผู้ปกครองเด็กได้รับความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการในเด็กวัย 0 – 5 ปี
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ