กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางพัสตราภรณ์ ดวงดาว

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66 – L8429 -01-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66 – L8429 -01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทยที่มีการเปลี่ยนแปลง ครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยายเป็นครอบครัวเดี่ยวเพิ่มขึ้น พ่อแม่ประกอบอาชีพนอกบ้าน เยาวชนในครอบครัวขาดการดูแลเอาใจใส่ ประกอบกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์ และวัฒนธรรมข้ามชาติ ทำให้เยาวชนที่ขาดวุฒิภาวะ ขาดทักษะชีวิต และการควบคุมอารมณ์ ประกอบกับความอยากรู้อยากลอง อาจถูกกระตุ้นด้วยสื่อโซเชียล และกลุ่มเพื่อน ให้ใช้สารเสพติด หรือมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม
      แม้จะยังไม่มีตัวเลขที่แน่ชัดของจำนวนหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นทั้งหมด เนื่องจากส่วนหนึ่งยุติการตั้งครรภ์ด้วยการทำแท้ง อัตราคลอดในแม่วัยรุ่นสูงขึ้น สวนทางกับอัตราคลอดในหญิงวัยอื่นที่ลดต่ำลงทุกปี จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสํานักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขปี ๒๕๖5 ภาพรวมทั้งประเทศ อัตราการคลอดของหญิงอายุ ๑๐-๑๔ ปี ร้อยละ๐.๙ อัตราการคลอดของหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปี ร้อยละ ๒๘.๗ และมีร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำของหญิงอายุ ๑๐-๑๙ ร้อยละ ๗.๘ จึงคาดการณ์ว่าในอนาคตอีก ๑๐-๒๐ ปีข้างหน้า ประชากรไทยจะมีปัญหาเกิดน้อย-ด้อยคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเนื่องหลายด้าน และจากรายงานเฝ้าระวังการทำแท้งในประเทศไทย ปี ๒๕๖5 พบว่า มากกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยที่ทำแท้งที่พบในสถานพยาบาลเป็นหญิงวัยรุ่นอายุ ๑๐-๑๙ ปี ซึ่งร้อยละ ๙๒.๖ ตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจ และยังพบว่า ร้อยละ ๙๕.๗ ของวัยรุ่นอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จากจำนวนนี้ ไม่ได้คุมกำเนิด
      ข้อมูลของสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตรัง ปี ๒๕๖๒-๒๕๖๕ อัตราการคลอดของหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปี ร้อยละ ๒๑.๗๙,๒๐.๐๙ และ ๑๕.๓๔ และร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า ๒๐ ปีเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑๓.๒๘, ๑๓.๕๙ และ๑๕.๙๔ สำหรับอำเภอสิเกาพบว่าปี ๒๕๖๒- ๒๕๖๔ มีอัตราการตั้งครรภ์ของหญิงวัยรุ่น ร้อยละ ๔.๗๘, ๒.๔๘ และ๒.๙๕ตามลำดับ และในจำนวนนั้น มีหญิงวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ซ้ำในปี ๒๕๖๒,๒๕๖๓ คิดเป็นร้อยละ ๖.๔๕ และ ๑๗.๒๔ ปัญหายาเสพติด ในวัยรุ่นพบอัตราการเข้ารับการบำบัดยาเสพติดโดยสมัครใจของนักเรียนในปี ๒๕๖๒-๒๕๖๔ ร้อยละ ๑๘ ,๑๖.๓๒ ตามลำดับ ดังนั้นทุกภาคส่วนในสังคมควรตระหนักและช่วยกันเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่มีสุขภาวะที่ดีทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา ดังนั้น การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและ พัฒนาทักษะชีวิตเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อให้เยาวชนมีทักษะ มีภูมิคุ้มกัน สามารถดูแลตนเองและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหายาเสพติด โรคเอดส์ และการป้องกันตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
      งานสุขาภิบาลและป้องกันโรค โรงพยาบาลสิเกา จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรขี้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
  2. เพื่อให้เยาวชนแกนนำสามารถให้คำปรึกษาแก่เพื่อนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้โดยใช้ฐานกิจกรรม ๔ ฐาน แบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่ม กลุ่มละ ๑๐ คน ใช้เวลาในการให้ความรู้ฐานละ ๑ ชั่วโมง ๓๐ นาที

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราการรับการบำบัดโดยสมัครใจของผู้ติดสารเสพติด ในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้น ๒.อัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยเรียนลดลง ๓.มีการขับเคลื่อนโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอย่างถูกต้อง และสามารถขยายเครือข่ายเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้โดยใช้ฐานกิจกรรม ๔ ฐาน แบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่ม กลุ่มละ ๑๐ คน ใช้เวลาในการให้ความรู้ฐานละ ๑ ชั่วโมง ๓๐ นาที

วันที่ 25 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑.แต่งตั้งคณะทำงานโครงการ ๒.ประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการ ๓.จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อและสถานที่ ๔.ติดต่อประสานงานวิทยากร ๕.ประสานงานกับกลุ่มเป้าหมายและเชิญเข้าร่วมโครงการ ๖.จัดโครงการค่ายอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ๗.ประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อัตราการรับการบำบัดโดยสมัครใจของผู้ติดสารเสพติด ในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้น ๒.อัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยเรียนลดลง ๓.มีการขับเคลื่อนโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาอย่างถูกต้อง และสามารถขยายเครือข่ายเพิ่มขึ้น

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของเยาวชนแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรเพิ่มขึ้น
90.00

 

2 เพื่อให้เยาวชนแกนนำสามารถให้คำปรึกษาแก่เพื่อนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของเยาวชนแกนนำสามารถให้คำปรึกษาแก่เพื่อนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนแกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษา และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (2) เพื่อให้เยาวชนแกนนำสามารถให้คำปรึกษาแก่เพื่อนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้โดยใช้ฐานกิจกรรม ๔ ฐาน แบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กลุ่ม กลุ่มละ ๑๐ คน ใช้เวลาในการให้ความรู้ฐานละ  ๑ ชั่วโมง  ๓๐ นาที

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ เพศศึกษาและการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66 – L8429 -01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพัสตราภรณ์ ดวงดาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด