กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผักข้างศูนย์ อาหารข้างรั้ว เศรษฐกิจพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบาเจาะ ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66 - L4127 - 03 -3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาเจาะ
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2566
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวปาตีเมาะ ยูโซะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
85.00
2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
75.00
3 ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
75.00
4 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด
85.00
5 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
85.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆและอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อ เพิ่มสูงขึ้นโรงพยาบาล ก็ต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาลเพื่อให้รองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมากและเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุเนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือผัก-ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยงได้ และการซื้อผักจากท้องตลาดนั้นค่อนข้างมีราคาแพงและเต็มไปด้วยสารเคมีการปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินเองนั้นถือเป็นการสำรองอาหารอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งการปลูกพืชผักสวนครัวด้วยวิธีการปลูกตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการปลูกผักปลอดสารพิษ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลบาเจาะ เป็นผู้ที่ต้องจัดซื้อและประกอบอาหารให้กับเด็กเล็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้หาแนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุ แบบยั่งยืน คือการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและต่อยอดไปในครัวเรือนของเด็กเล็ก โดยการปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ซึ่งเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้เด็กเล็กได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง เพื่อการมีสุขอนามัยและสุขภาพที่ดี มีพัฒนาการสมวัยมีภูมิต้านทานโรคที่ดี ทำให้เด็กเล็กได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการของเด็กเล็ก (0-3 ปี) ลง

ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

85.00 90.00
2 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

75.00 80.00
3 เพื่อลดเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

75.00 80.00
4 เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์

ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

85.00 90.00
5 เพื่อลดภาวะทุพโภชนกาารของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

85.00 90.00
6 เพื่อให้เด็กเล็กได้มีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค

ร้อยละ 100 ได้รับการบริโภคผักที่ปลอดสารพิษ

90.00
7 เพื่อให้เด็กเล็กได้รับอาหารจำพวกโปรตีนซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตบริโภคตามหลักโภชนาการ5หมู่

ร้อยละ 100 ได้รับสารอาหารจำพวกโปรตีนซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตบริโภคตามหลักโภชนาการ5หมู่

95.00
8 เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไปได้ศึกษา

ร้อยละ 85 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไปได้ศึกษา

85.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66
1 ขั้นดำเนินการ(1 ก.ค. 2566-30 ธ.ค. 2566) 20,000.00            
รวม 20,000.00
1 ขั้นดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 20,000.00 0 0.00
1 ก.ค. 66 - 30 ธ.ค. 66 กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพ 60 4,000.00 -
1 ก.ค. 66 - 30 ธ.ค. 66 กิจกรรมสอนปฏิบัติปลูกผักปลอดสารพิษ 60 16,000.00 -
  1. ประชุมชี้แจงแก่คณะทำงานระหว่างครูผู้ดูแลเด็กกับผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารศูนย์
    1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อผักและการปรุงอาหารโดยมีผักเป็นส่วนประกอบของเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนเก้าเส้ง
    2. จัดกิจกรรมให้ครูศึกษาความรู้ในการปลูกผักสวนครัวและศึกษาสภาพดิน อุปกรณ์ในการปลูกผัก
    3. จัดกิจกรรมให้เด็กเล็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษ
    4. จัดกิจกรรมการส่งเสริมการรับประทานผักที่ปลอดสารพิษและนำผักที่ปลูกมาประกอบอาหาร
    5. จัดกิจกรรมการส่งเสริมให้มีการปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือนของเด็กเล็ก
    6. ประเมินผลและสรุปโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนและผู้ปกครอง หันมาสวมหมวกกันน็อกกันมากขึ้น
    1. ลดความเสี่ยงและ อันตรายของอุบัติเหตุจากการใช้รถจักรยานยนต์ในการรับ - ส่งเด็ก
    2. ลดปัญหาการบาดเจ็บที่รุนแรง ลดอัตราการพิการหรือทุพพลภาพหากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นในเด็กปฐมวัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ