กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน


“ โครงการอสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2566 ”

ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัชดาวรรณ ทองศรีไหม

ชื่อโครงการ โครงการอสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3325-2-3 เลขที่ข้อตกลง 18/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบ (2) 2.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย (3) 3.เพื่อให้แกนนำ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม สามารถที่จะถ่ายทอดให้คนในหมู่บ้านของตนเองได้ (4) 4.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 4.อสม.สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ ยุงลายทุกวันศุกร์ โดย อสม.ใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย ใส่ทรายอะเบททุกหลังคาเรือนที่มีน้ำขังบริเวณบ้าน (2) 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้แกนนำ อสม.ในการประชุมจัดทำแผนประจำเดือนของ อสม. (3) 5.ออกสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา และ อสม.รพ.สต.บ้านดอนศาลา สลับกันตรวจแต่ละหมู่บ้าน (4) 1.ประสานงานกับผู้นำชุมชน/เทศบาล./อสม./และประชาชนในหมู่บ้านเพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน (5) 2.ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนทางหอกระจายข่าว และเวทีประชุมหมู่บ้าน แจกเอกสารใบความรู้ (6) ประเมินและสรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย โดยมีรายงานพบผู้ป่วยมาตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2492 ปัจจุบันยังพบการระบาดของโรคในทุกพื้นที่ของประเทศไทย ทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท โดยพบผู้ป่วยต่อเนื่องทุกปีทำให้คาดการณ์ว่าอาจมีแนวโน้มการระบาดโรครุนแรงขึ้น โดยสาเหตุสำคัญเกิดจากแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่ยังพบได้ในบ้านเรือนประชาชนโดยทั่วไป ประชาชนและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ยังไม่เห็นความสำคัญของปัญหา และขาดความตระหนักในการร่วมมือกันแก้ไขปัญหาในพื้นที่ตำบลมะกอกเหนือยังมีรายงานการพบผู้ป่วยไข้เลือดออกทุกปี โดยเฉพาะในปี 2565 พบผู้ป่วยจำนวน 1 ราย อัตราป่วย 49.54 ต่อแสนประชากร ในปี 2566 มกราคม - มิถุนายน 2566 พบผู้ป่วยจำนวน 8 ราย อัตราป่วย 396.04 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ประกอบกับรายงานการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลมะกอกเหนือ พบค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายบางหมู่บ้านสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ค่า HI>10) ซึ่งการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุด คือการทำลายแหล่งเพาะลูกน้ำยุงลายทั้งในครัวเรือน บริเวณที่พักอาศัย อาคารสำนักงาน วัดและโรงเรียน ประกอบกับยุงลายสามารถแพร่พันธุ์ได้ตลอดปี ถ้าไม่ดำเนินการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพ ก็อาจเกิดการระบาดของโรคได้ตลอดเวลา ด้วยเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลาจึงได้จัดทำโครงการ อสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2566 ขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา โดยกำหนดกิจกรรมต่างๆ ที่ทำให้การดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกประสบความสำเร็จยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบ
  2. 2.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  3. 3.เพื่อให้แกนนำ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม สามารถที่จะถ่ายทอดให้คนในหมู่บ้านของตนเองได้
  4. 4.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 4.อสม.สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ ยุงลายทุกวันศุกร์ โดย อสม.ใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย ใส่ทรายอะเบททุกหลังคาเรือนที่มีน้ำขังบริเวณบ้าน
  2. 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้แกนนำ อสม.ในการประชุมจัดทำแผนประจำเดือนของ อสม.
  3. 5.ออกสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา และ อสม.รพ.สต.บ้านดอนศาลา สลับกันตรวจแต่ละหมู่บ้าน
  4. 1.ประสานงานกับผู้นำชุมชน/เทศบาล./อสม./และประชาชนในหมู่บ้านเพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
  5. 2.ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนทางหอกระจายข่าว และเวทีประชุมหมู่บ้าน แจกเอกสารใบความรู้
  6. ประเมินและสรุปผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,020
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อสม.แกนนำ 69

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก 3.ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 4.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบ
    2.1.ร้อยละของหมู่บ้าน/หลังคาเรือน มีค่าดัชนีลูกน้ำในบ้าน House Index น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 (HI ≤10) และค่า Breteau Index น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50 (BI ≤50)
    2.2 ร้อยละของสถานศึกษา โรงพยาบาล(รพ.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย Container Index เท่ากับ 0 (CI = 0) 2.3 ร้อยละของศาสนสถานและหน่วยงาน มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย Container Index เท่ากับ 0 (CI = 0)
    3.ร้อยละ 90 ของแกนนำ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม สามารถที่จะถ่ายทอดให้คนในหมู่บ้านของตนเองได้ 4.ร้อยละ 80 ของประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบ
24.00 32.50 0.00

 

2 2.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของหมู่บ้าน/หลังคาเรือน มีค่าดัชนีลูกน้ำในบ้าน House Index น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 (HI ≤10) และค่า Breteau Index น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50 (BI ≤50) 2. ร้อยละของสถานศึกษา โรงพยาบาล(รพ.) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย Container Index เท่ากับ 0 (CI = 0) 3 ร้อยละของศาสนสถานและหน่วยงาน มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย Container Index เท่ากับ 0 (CI = 0)
0.00 0.00

 

3 3.เพื่อให้แกนนำ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม สามารถที่จะถ่ายทอดให้คนในหมู่บ้านของตนเองได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของแกนนำ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม สามารถที่จะถ่ายทอดให้คนในหมู่บ้านของตนเองได้
0.00

 

4 4.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2089
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,020
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อสม.แกนนำ 69

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกไม่ให้ประชาชนได้รับผลกระทบ (2) 2.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย (3) 3.เพื่อให้แกนนำ อสม.มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม สามารถที่จะถ่ายทอดให้คนในหมู่บ้านของตนเองได้ (4) 4.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 4.อสม.สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ ยุงลายทุกวันศุกร์ โดย อสม.ใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย ใส่ทรายอะเบททุกหลังคาเรือนที่มีน้ำขังบริเวณบ้าน (2) 3.กิจกรรมอบรมให้ความรู้แกนนำ อสม.ในการประชุมจัดทำแผนประจำเดือนของ อสม. (3) 5.ออกสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนศาลา และ อสม.รพ.สต.บ้านดอนศาลา สลับกันตรวจแต่ละหมู่บ้าน (4) 1.ประสานงานกับผู้นำชุมชน/เทศบาล./อสม./และประชาชนในหมู่บ้านเพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน (5) 2.ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนทางหอกระจายข่าว และเวทีประชุมหมู่บ้าน แจกเอกสารใบความรู้ (6) ประเมินและสรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2566

รหัสโครงการ 66-L3325-2-3 รหัสสัญญา 18/2566 ระยะเวลาโครงการ 3 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

กลุ่มอสม.และคนในชุมชนมีความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลืดออกในชุมชน

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลงในแต่ละหมู่บ้าน

สร้างความตระหนักให้คนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

คนในชุมชนมีการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคต่างๆมากยิ่งขึ้น อย่างเช่นโรคไข้เลือดออก

การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคอื่น ๆ ในชุมชน

สร้างความตระหนักในการป้องกันโรคภัยต่างๆ ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

จากการจัดทำโครงการเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนตื่นตัวและทำให้ประชาชนในชุมชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

จากแบบสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีการรณรงค์กิจกรรมสำรวจลูกน้ำยุงลายและกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมในทุกหมู่บ้าน

ภาพกิจกรรมการรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละหมู่บ้าน

จัดกิจกรรมรณรงค์อย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการปลุกกระแส

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในชุมชน ที่ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ

ภาพกิจกรรมการรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในแต่ละหมู่บ้าน

จัดกิจกรรมรณรงค์อย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการสร้างพลังปลุกกระแส

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

การดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง

จัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดทักษะในการจัดการโครงการ และการใช้ข้อมูลตัดสินใจ ในการทำแผนปฏิบัติการ

แผนปฏิบัติการ และโครงการที่จัดทำอย่างต่อเนื่อง

ปรับเปลี่ยนรูปแบบกิจกรรมที่ทำอย่างต่อเนื่องเพื่อประยุกต์ให้เข้ากับสถานการณ์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

เกิดกลุ่มในชุมชนและมีแกนนำชุมชนในการที่ช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน

การทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน

พัฒนาโครงการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอสม.ร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก ปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3325-2-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรัชดาวรรณ ทองศรีไหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด