กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก ”
ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวมายีดะห์ วาโมง




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

ที่อยู่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3033-01-05 เลขที่ข้อตกลง 3/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3033-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นวัยเริ่มต้นของชีวิต ช่วงอายุแรกเกิดถึง 5 ปีเป็นโอกาสทอง ในการพัฒนาทรัพย์กรมนุษย์ ที่ให้ผลตอบแทนระยะยาวที่คุ้มค่ามากที่สุด การส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตด้านร้างกายและพัฒนาการด้านต่างๆอย่างเต็มศักยภาพ ถ้าเด็กได้รับการเลี้ยงดูที่ดี ส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตดี มีร่างกายแข็งแรง สติปัญญาดี มีความสามารถในการเรียนรู้ สร้างระบบภูมิต้านทานโรคและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ปัจจัยที่ส่งเสริมการมีสุขภาพดีของเด็กในชุมชน เป็นสิ่งที่ชุมชนต้องร่วมใจ ให้ความสำคัญในการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมภาวะโภชนาการ ทั้งในส่วนของครอบครัว ร้านอาหาร ตลาด ที่มีการผลิตและสนับสนุนอาหารดี สุขภาพดี ในกลุ่มเด็กเล็ก จากข้อมูลโภชนาการเด็กเล็ก 0-5ปี ในพื้นที่ ตำบลระแว้งมีเด็กเล็กจำนวน 370 คน พบว่าเด็กเหล่านี้มีภาวะสูงดี/สมส่วนจำนวน 257 ราย คิดเป็นร้อยละ 69.46 และมีปัญหาการเจริญเติบโต จำนวน 113ราย (เด็กผอม/อ้วน) คิดเป็นร้อยละ 30.54 จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระแว้งจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและมีภาวะโภชนาการสมวัย ภายใต้การมีส่วนร่วมของครบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัย มีความรู้ในการจัดอาหารสุขภาพแก่เด็ก 0-5 ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วน 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5 เด็กที่ปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วน 3.เพื่อให้เด็ก0-5 ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วนได้รับการดูแลแก้ไข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อเฝ้าระวังและส่งเสริมการเจริญเติบโตเด็ก 0-5ปีให้สูงดีสมส่วน 2.สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพให้ผู้ปกครอง ในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0-5ปี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

วันที่ 3 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1 ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการโดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระแว้ง 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลระแว้ง 3. ขั้นตอนการดำเนินงาน
    -สำรวจข้อมูลโภชนาการเด็กอายุ 0-5ปีในชุมชนและจัดทำทะเบียนเด็กที่ปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและเด็กอ้วน -นำข้อมูลเด็ก 0-5ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและเด็กอ้วนมาวางแผนและออกแบบกิจกรรมการดำเนินงานแก้ปัญหา -เชิญครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองและเด็ก 0-5ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและเด็กอ้วน เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโภชนาการ และการจัดอาหารให้เหมาะสมตามหลักโภชนาการของเด็ก 0-5 ปี โดยวิทยากรจาก รพ.สต.คลองใหม่ -ดำเนินการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะโภชนาการเด็ก 0-5ปี และบันทึกผลในสมุดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งผลและแนะนำโดย1.แนะนำเรื่องการจัดอาหารสุขภาพให้เหมาะสมตามวัย 2.แนะนำวิธีส่งเสริมโภชนาการให้ผู้ปกครองทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัย จำวนวน 63 คนมีความรู้ในการจัดอาหารสุขภาพแก่เด็ก 0-5 ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วน จำนวน 63คน คิดเป็นร้อยละ100 2.เด็ก0-5ปีและ เด็กที่ปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วนจำนวน 57คนได้รับการเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการจำนวน57คน คิดเป็นร้อยละ100 3.เด็ก0-5 ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วนจำนวน 57 คนได้รับการดูแลแก้ไขโดยได้รับคำแนะนำในการจัดอาหารสุขภาพตามวัยและวิธีส่งเสริมโภชนาการ จำนวน 57 คน คนคิดเป็นร้อยละ100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัย มีความรู้ในการจัดอาหารสุขภาพแก่เด็ก 0-5 ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วน 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5 เด็กที่ปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วน 3.เพื่อให้เด็ก0-5 ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วนได้รับการดูแลแก้ไข
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัย มีความรู้ในการจัดอาหารสุขภาพแก่เด็ก 0-5 ปีร้อยละ 100 2.เด็ก0-5ปีที่มีปัญหาโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังโภชนาการร้อยละ 90 3.เพื่อให้เด็ก0-5 ปีที่มีปัญหาโภชนาการมีภาวะโภชนาการปกติร้อยละ 60
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัย มีความรู้ในการจัดอาหารสุขภาพแก่เด็ก 0-5 ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วน 2.เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5 เด็กที่ปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วน 3.เพื่อให้เด็ก0-5 ปีที่มีปัญหาโภชนาการทั้งเด็กที่ผอมและอ้วนได้รับการดูแลแก้ไข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการเจริญเติบโตและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3033-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมายีดะห์ วาโมง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด