กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละไกรทอง


“ โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเชิงรุก หมู่ที่ 3 ต.ตะโละไกรทอง ”

ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮูดา ยะแซ

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเชิงรุก หมู่ที่ 3 ต.ตะโละไกรทอง

ที่อยู่ ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 17/2566 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเชิงรุก หมู่ที่ 3 ต.ตะโละไกรทอง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละไกรทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเชิงรุก หมู่ที่ 3 ต.ตะโละไกรทอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเชิงรุก หมู่ที่ 3 ต.ตะโละไกรทอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละไกรทอง อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 17/2566 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละไกรทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญ และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ” เพราะเป็นโรคที่ ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสําคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านดิน เสมอ ดําเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุก เร่งการป้องกันโรคโดยใช้เครือข่ายระหว่าง รพ.สต. กับ อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านเพราะ การดําเนินงานควบคุมและป้องกันโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมการของประชาชน
โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากระดับน้ําตาลในกระแสเลือดมีปริมาณสูงขึ้น ระดับน้ําตาลที่สูง ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทําลายหลอดเลือด และอวัยวะต่างๆ เช่น หัวใจ ไต ตา สมอง ทําให้เกิดอาการแทรกซ้อนต่อระบบอวัยวะต่างๆ เช่น ส่งผลกระทบต่อเส้นเลือดที่ตา ทําให้เกิดอาการตามัว หรือตาบอด ส่งผลต่อเลือดที่ไต ทําให้เกิดการทํางานของไตผิดปกติ ไตวาย ส่งผลต่อเลือดที่หัวใจ ทําให้เกิดเส้นเลือดหัวใจตีบตัน ส่งผลต่อระบบประสาท ทําให้เกิดภาวะปลายเส้นประสาทอับเสบ ส่งผลต่อบริเวณ เส้นเลือดปลายมือ ปลายเท้า ทําให้เกิดแผลที่เท้าได้ง่าย ภาวะแทรกซ้อน ต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคเบาหวานทุกรายล้วนแล้วแต่ เป็นสิ่งที่น่ากลัว แต่อาการแทรกซ้อนที่พบมาก ที่สุดคือ การเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา เกิดจากการที่น้ําตาลเข้าไปใน endothelium ของ หลอดเลือดเล็กๆ ทําให้หลอดเลือดฉีกขาดได้ง่าย เลือดและสารบางอย่างที่อยู่ในเลือดจะรั่วออกมา และมีส่วนทําให้ Macula บวม ซึ่งทําให้ เกิด Blurred vision หลอดเลือดที่ฉีกขาด จะสร้างแขนงของหลอดเลือดใหม่ออกมามากมาย จนบดบังแสงที่มาตกกระทบยัง Retina ทํา ให้การมองเห็นของผู้ป่วยแย่ลง ตาหรือจอประสาทเสื่อม หรือ มองเห็นจุดดําลอยไปมา และอาจทําให้ตาบอดในที่สุด และภาวะแทรกซ้อน ทางระบบประสาท โรคเบาหวานจะทําให้หลอดเลือดเล็กๆ ที่มาเลี้ยงเส้นประสาทบริเวณปลายมือ ปลายเท้าเกิดพยาธิสภาพ ก็จะทําให้ เส้นประสาทนั้นไม่สามารถนําความรู้สึกต่อไปได้ เช่น รู้สึกขา ปวดแสบปวดร้อนตามปลายมือ เมื่อผู้ป่วยมีแผล ผู้ป่วยก็จะไม่รู้ตัว และไม่ ดูแลดังกล่าว ประกอบกับในเลือกผู้ป่วยมีน้ําตาลสูง จึงเป็นอาหารอย่างดีให้กับเชื้อโรคและแผลก็จะเน่า
ดังนั้น อสม.หมู่ที่ 3 บ้านตะโละไกรทอง จึงเห็นความสําคัญของการคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง และการป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ของผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจึงได้จัดทําโครงการดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. ข้อที่ ๒ เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่ออย่างเป็นระบบ ข้อที่ ๓ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อย่างน้อยร้อยละ ๙๐
    2. ประชาชนในกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองตามหลัก ๓ อ. ๒ ส.
      3.ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับส่งต่ออย่างเป็นระบบทุกราย
    3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน และส่งต่ออย่างเป็นระบบ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๕ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง เบาหวาน และความดันโลหิตสูง

     

    2 ข้อที่ ๒ เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่ออย่างเป็นระบบ ข้อที่ ๓ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ๘๐ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรรมที่ดีขึ้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) ข้อที่ ๒ เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่ออย่างเป็นระบบ ข้อที่ ๓ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเชิงรุก หมู่ที่ 3 ต.ตะโละไกรทอง จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 17/2566

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฮูดา ยะแซ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด