กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 66-L2986-02-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลตะโละแมะนา
วันที่อนุมัติ 11 สิงหาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 19,585.20 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเจ๊ะเสาะ สะแม
พี่เลี้ยงโครงการ นางภัทรพร รัตนซ้อน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 14 ส.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 19,585.20
รวมงบประมาณ 19,585.20
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทย ของจังหวัดปัตตานี ของอำเภอทุ่งยางแดงและของพื้นที่ตำบลตะโละแมะนาส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด ปัญหาของการเกิดโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญในการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องการจัดการขยะที่ถูกต้องเหมาะสม ถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันทั้งประชาชน ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ดังนั้นเพื่อไม่ให้มีการระบาดของไข้เลือดออก จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนัก ให้ความสำคัญจึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจังนำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 19,585.20 0 0.00
18 ส.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน 0 1,400.00 -
21 ส.ค. 66 กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ 0 9,100.00 -
24 ส.ค. 66 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมรณรงค์ 0 9,085.20 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๗.๑ ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
๗.๒ ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
๗.๓ ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2566 09:34 น.