กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ จัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเหมันต์ มณีโรจน์

ชื่อโครงการ จัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3306-2-18 เลขที่ข้อตกลง 42/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"จัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
จัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ



บทคัดย่อ

โครงการ " จัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2566-L3306-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการเสียชีวิต ๒ ใน ๓ ของประชากรไทย ส่งผลต่อ ทั้งด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ อีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษ ที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่ การจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึง และประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจัดการตนเอง ระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด - 19 กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการ คัดกรองและติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีสมุดบันทึกข้อมูลสุขภาพออนไลน์ด้วย Application บนมือถือของประชาชน และเชื่อมต่อข้อมูลกับสถานพยาบาล โดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานีสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Station) ซึ่งหมายถึง สถานที่สำหรับ ให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมีความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนเอง และ เป็นช่องทางในการสื่อสารความเสี่ยงสุขภาพผ่าน Platform Digital
โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ มีความคาดหวังว่าจะช่วยลดอัตราการป่วย และการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อลงได้ จึงได้เขียนโครงการจัดตั้งจัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เพิ่มขึ้น
  2. ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล สุขภาพดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ ตำบลคลองเฉลิม
  2. ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน
  3. ประชุมคณะทำงาน และร่วมจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และมีอุปกรณ์พื้นฐาน ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงาน
  4. จัดหาวัสดุอุปกรณ์
  5. พัฒนาศักยภาพ อสม. และประชาชน ให้สามารถใช้อุปกรณ์ การตรวจคัดกรองและใช้ Application ได้ถูกต้อง เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพลดการป่วยจาก โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  6. ให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ คัดกรองเบื้องต้น ประกอบด้วย ดัชนีมวลกาย, รอบเอว และวัดระดับความดันโลหิต คัดกรองปัจจัยเสี่ยง การสูบบุหรี่, การดื่มสุรา และประเมินสุขภาพจิต ร่วมถึงการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
  7. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่น กิจกรรมลุกขึ้นมาวิ่ง (เช้า/เย็นของทุกวัน) เต้น รำ กีฬา ออกกำลังกายอื่น ๆ เป็นต้น
  8. ประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพิ่มขึ้น
๒. ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิตัล สุขภาพดีขึ้น ๓. อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น มากกว่าร้อยละ ๕๐

 

2 ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล สุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพลดลง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เพิ่มขึ้น (2) ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล สุขภาพดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station  หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ ตำบลคลองเฉลิม (2) ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน (3) ประชุมคณะทำงาน และร่วมจัดหาสถานที่ เครื่องมือ และมีอุปกรณ์พื้นฐาน ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงาน (4) จัดหาวัสดุอุปกรณ์ (5) พัฒนาศักยภาพ อสม. และประชาชน ให้สามารถใช้อุปกรณ์    การตรวจคัดกรองและใช้ Application ได้ถูกต้อง เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพลดการป่วยจาก โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (6) ให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ คัดกรองเบื้องต้น ประกอบด้วย ดัชนีมวลกาย, รอบเอว และวัดระดับความดันโลหิต คัดกรองปัจจัยเสี่ยง การสูบบุหรี่, การดื่มสุรา และประเมินสุขภาพจิต ร่วมถึงการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด (7) จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่น กิจกรรมลุกขึ้นมาวิ่ง (เช้า/เย็นของทุกวัน) เต้น รำ กีฬา ออกกำลังกายอื่น ๆ เป็นต้น (8) ประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


จัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2566-L3306-2-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเหมันต์ มณีโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด