กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอรำล๊ะ หมาดสา หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66 – L7580 - 3 - 02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66 – L7580 - 3 - 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารสุข ได้รายงานว่า ในแต่ละปีไทยมีเด็กเกิดใหม่กว่า 7 แสนคน ทำให้มีเด็กก่อนวัยเรียนที่มีอายุต่ำกว่า  5 ปี เกือบ 4 ล้านคน จำนวนนี้ครึ่งหนึ่งเป็นเด็กอายุระหว่าง 2 ปี ถึง 3 ปีร่วมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน ทำให้สภาพครอบครัว เป็นครอบครัวเดี่ยว พ่อแม่หรือผู้ปกครองเด็กต้องทำงานนอกบ้าน ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรหลานตนเอง ในช่วงเวลากลางวัน เด็กกลุ่มนี้จึงถูกนำไปฝากเลี้ยงในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลจำนวนมาก ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันจำนวนมาก และมีมากกว่า 19,000 แห่ง ผลที่ตามมาคือศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลจึงเป็นสถานที่เด็กจำนวนมากอาศัยอยู่รวมกัน เมื่อเด็กคนใดคนหนึ่งเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ ซึ่งการเจ็บป่วยหรือโรคติดต่อนี้ก็จะแพร่กระจายไปสู่ เด็กคนอื่นๆ ได้ง่ายและรวดเร็ว ทำให้เด็กต้องหยุดเรียนจำนวนมาก ติดต่อกันเป็นระยะเวลาหลายวันหรือแม้กระทั่ง ปิดโรงเรียนชั่วคราว เพื่อทำความสะอาดและเพื่อลดปัจจัยที่จะนำไปสู่การระบาดมากยิ่งขึ้น เช่น การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก เป็นต้น
จากสถานการณ์ดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ได้ตระหนักและมองเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้นหากไม่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขเร่งด่วน จะส่งผลต่อพัฒนาการทั้งในด้านสมอง ร่างกาย และจิตใจ ของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์จึงได้ร่วมมือกับผู้ปกครองจัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ เพื่อเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปกครอง ในการป้องกัน เฝ้าระวังรักษาสุขภาพบุตรหลานของตนเองได้อย่างถูกต้อง อนึ่งการดำเนินงานโครงการดังกล่าวจะส่งผลให้นักเรียน  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ ประจำปีการศึกษา 2566 มีคุณภาพ ทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ-อารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาที่ดีสมวัยต่อไป     ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย      ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ เพื่อเป็นการดูแลนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ประจำปีการศึกษา 2566 อย่างต่อเนื่อง และเพื่อรองรับนักเรียนใหม่ในปีการศึกษา2566 โดยจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการในการ    ให้ความรู้และเพิ่มทักษะ ในการเฝ้าระวังสุขอนามัยและเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย มีความรู้ในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กที่ถูกต้อง ตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัย และผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้น ของโรคติดต่อชนิดต่างๆ และสามารถป้องกันการเกิดโรคได้อย่างทันท่วงทีรวมไปถึงการดูแลสุขภาพทางช่องปาก การแปรงฟันที่ถูกวิธี อนึ่งการจัดโครงการดังกล่าวจะส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการ ที่เหมาะสมกับช่วงวัยทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา มีความรู้ ทักษะ คุณธรรมจริยธรรมและจิตสำนึก ที่พึงประสงค์และอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพ ของเด็กในช่วงปฐมวัย ในเรื่องการแปรงฟัน พฤติกรรมและพัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเฝ้าระวังสุขภาพของบุตรหลานตนเองที่บ้าน ได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและทุกขภาวะที่เกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ มีความรู้ความเข้าใจและนำไปปฏิบัติในการป้องกัน การสังเกตอาการเบื้องต้นและการรักษาโรคติดต่อ การแปรงฟันให้ถูกวิธี สารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอสำหรับเด็กปฐมวัย พัฒนาการตามช่วงอายุของเด็กปฐมวัยทำให้ลดการเกิดโรคและทุกขภาวะของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้เป็นอย่างดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 14 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ มีความรู้ความเข้าใจและนำไปปฏิบัติในการป้องกัน การสังเกตอาการเบื้องต้นและการรักษาโรคติดต่อ การแปรงฟันให้ถูกวิธี สารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอสำหรับเด็กปฐมวัย  พัฒนาการตามช่วงอายุของเด็กปฐมวัยทำให้ลดการเกิดโรคและทุกขภาวะของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้เป็นอย่างดี

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพ ของเด็กในช่วงปฐมวัย ในเรื่องการแปรงฟัน พฤติกรรมและพัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองที่เข้ารับการอบรมทำแบบทดสอบหลังอบรมได้มากกว่าร้อยละ 80
80.00 100.00

ผู้ปกครองนักเรียนความรู้ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพ ของเด็กในช่วงปฐมวัย ในเรื่องการแปรงฟัน พฤติกรรมและพัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ

2 เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเฝ้าระวังสุขภาพของบุตรหลานตนเองที่บ้าน ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผลการตรวจตามแบบคัดกรองอาการป่วยเบื้องต้น และแบบประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย ก่อนได้รับการอบรม คะแนนการประเมินอยู่ที่ร้อยละ 70 หลังจากได้รับการอบรม ประมาณ 3 เดือน ได้ระดับไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
80.00 100.00

ผู้ปกครองสามารถนำความรู้และเพิ่มทักษะ ในการเฝ้าระวังสุขอนามัยและเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย มีความรู้ในการคัดเลือกอาหารและเตรียมอาหารให้กับเด็กที่ถูกต้อง ตามหลักโภชนาการในการกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัย และผู้ปกครองเด็กปฐมวัยรู้จักสังเกตอาการเบื้องต้น ของโรคติดต่อชนิดต่างๆ    และสามารถป้องกันการเกิดโรคได้อย่างทันท่วงทีรวมไปถึงการดูแลสุขภาพทางช่องปาก การแปรงฟันที่ถูกวิธี เหมาะสมกับช่วงวัยทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา มีความรู้ ทักษะ คุณธรรมจริยธรรมและจิตสำนึกที่พึงประสงค์

3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและทุกขภาวะที่เกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ผลการตรวจตามแบบคัดกรองอาการป่วยเบื้องต้น และแบบประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัย ก่อนได้รับการอบรม คะแนนการประเมินอยู่ที่ร้อยละ 70 หลังจากได้รับการอบรม ประมาณ 3 เดือน ได้ระดับไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
80.00 100.00

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการป้องกันโรคที่ได้ผลดีและคุ้มค่าที่สุดคือการป้องกันในระยะก่อนได้รับเชื้อได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยเด็กต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดได้รับอาหารที่หลากหลายครบ ๕ หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสม ทั้ง ๓ มื้อ ดื่มน้ำสะอาดได้รับการดูแลเรื่องสุขอนามัยส่วนบุคคล เน้นความสะอาดของที่อยู่อาศัย เครื่องใช้ส่วนตัว สิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ สะอาดไม่แออัด อากาศถ่ายเทสะดวก การป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ดีคือ อย่าให้ยุงกัด และอย่าให้ยุงเกิด ด้วยการจำกัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายให้หมดสิ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยมีความรู้ ความเข้าใจในด้านการดูแลสุขภาพ ของเด็กในช่วงปฐมวัย ในเรื่องการแปรงฟัน พฤติกรรมและพัฒนาการเด็ก โภชนาการและโรคติดต่อ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเฝ้าระวังสุขภาพของบุตรหลานตนเองที่บ้าน ได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและทุกขภาวะที่เกิดขึ้นกับเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66 – L7580 - 3 - 02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอรำล๊ะ หมาดสา หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กดารุลญันนะห์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด