กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังผู้ป่วยเบาหวานเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
รหัสโครงการ 66-L4134-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบันนังสาเรง
วันที่อนุมัติ 6 กรกฎาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 17,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุภาวณี ยูโซ๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.48,101.258place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 130 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางระบาดวิทยาที่สาเหตุการตายของประชาชนเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อเฉียบพลันมาเป็นโรคเรื้อรัง ทั้งนี้เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมอันทำให้บุคคลเคลื่อนไหวร่างกายลดลงและบริโภคอาหารที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพมากขึ้น โรคระบบไหลเวียนเลือดเป็นกลุ่มโรคหนึ่งที่ได้กลายเป็นปัญหาสาธารณสุขที่มีความสำคัญเป็นลำดับต้นๆของประเทศไทยในปัจจุบัน     จากสถานการณ์ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2565 สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ว่า เป้าหมายผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเจาะเลือดHbA1C ทั้งหมดในปีงบประมาณ 2565 จำนวน 163 คน ได้รับการเจาะเลือดHbA1C จำนวน 96 คน ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 22.09 จากการสำรวจเบื้องต้น พบว่าผู้ป่วยโรคเหวานส่วนใหญ่ยังมีพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการกับความเครียด การรับประทานยา หรือฉีดยาอินซูลิน และการนวดเท้าเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ซึ่งถ้าไม้ได้รับการแก้ไขจะทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดมากยิ่งขึ้น จึงมีความเป็นไปได้ที่จะควบคุมป้องกันหรือชะลอการเกิดหรือการดำเนินของโรคในผู้ป่วยโรคเบาหวานได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน อาการแสดง พฤติกรรมการดูแลตนเองในเรื่องการรับประทานอาหาร การจัดการความเครียด การรับประทานยาหรือฉีดยาอินซูลิน

1.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40

2 2.เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับการนวดเท้าเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางเท้า

2.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้อยละ 90 ผู้ป่วยเบาหวานที่อบรม มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีมากว่าหรือเท่ากับร้อยละ 30
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ส.ค. 2566 10:50 น.