กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี โภชนาการตามเกณฑ์ พัฒนาการสมวัย ”

ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาวณี ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี โภชนาการตามเกณฑ์ พัฒนาการสมวัย

ที่อยู่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4134-1-1 เลขที่ข้อตกลง 10-2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดี โภชนาการตามเกณฑ์ พัฒนาการสมวัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดี โภชนาการตามเกณฑ์ พัฒนาการสมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดี โภชนาการตามเกณฑ์ พัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4134-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,090.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปฐมวัยเป็นวัยเริ่มต้นของชีวิตเป็นช่วงวัยที่พัฒนาการด้านต่างๆ จะพัฒนาไปอย่างรวดเร็วและเป็นรากฐานที่สําคัญ ของช่วงวัย ต่อๆไป เด็กในวัยนี้จึงเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสําคัญอย่างยิ่งของประเทศ ถ้าเด็กปฐมวัยได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม จะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีมีคุณภาพและเป็นกําลังสําคัญของประเทศชาติต่อไปดังคํากล่าวของศาสตราจารย์ดร.เจมส์ เจ เฮคแมน นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลปี พ.ศ 2542 ที่ว่า “การลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าและให้ผลตอบแทนแก่สังคมดีที่สุด”
    จากสถานการณ์ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2565 สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ว่า เป้าหมายเด็กตามช่วงอายุที่ต้องได้รับการคัดกรอง ทั้งหมดในปีงบประมาณ 2565 ไตรมาสที่ 1 –ไตรมาส 4 (วันที่ 31 เดือน ตุลาคม 2565) จำนวน 588 คน ได้รับการคัดกรอง จำนวน 577 คน คิดเป็นร้อยละ 98.13 และในจำนวนเด็กที่ได้รับการคัดกรอง พบว่าเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยครั้งแรก 434 คน คิดเป็นร้อยละ 73.81 สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น 1 เดือน จำนวน 143 คน คิดเป็นร้อยละ 24.78 ได้รับการติดตามกระตุ้นภายใน 1 เดือน 143 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการคัดกรองพัฒนาการสมวัย จำนวน 577 คน คิดเป็นร้อยละ 98.13 และเด็ก 0-5ปี ทั้งหมด 688 คนได้รับการคัดกรองประเมินโภชนาการ 682 คน คิดเป็นร้อยละ 99.13 เด็กที่มีโภชนาการสูงดีสมส่วน จำนวน 471 คน คิดเป็นร้อยละ 69.06 (ข้อมูลไตรมาส 4 เดือนกรกฎาคม 2565 - กันยายน 2565)

      การพัฒนามนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ช่วงปฐมวัยและต่อเนื่องตลอดชีวิตหลักวิชาและการวิจัยได้แสดงว่าปัจจัยแวดล้อมและการเลี้ยงดูที่เหมาะสม สามารถเปลี่ยนโครงสร้างและประสิทธิภาพการทำงานของสมองมนุษย์ได้เวลาที่ สำคัญและจำเป็นที่สุดในการพัฒนาสมองคือในช่วง 5 ปี แรกของชีวิตการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ที่ยั่งยืน และป้องกันปัญหาสังคมในระยะยาว จำเป็นต้องเริ่มพัฒนาตั้งแต่ปฐมวัย โดยเน้นให้ครอบครัวเป็นแกนหลักและชุมชนเป็นฐานที่มีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการพัฒนาการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบันนังสาเรง จึงได้จัดทำโครงการ“หนูน้อยสุขภาพดี โภชนาการตามเกณฑ์ พัฒนาการสมวัย”เพื่อส่งเสริมให้บิดามารดาและผู้ปกครองได้มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงดูลูกหลานมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ วัคซีนครบตามเกณฑ์ช่วงอายุและส่งเสริมพัฒนาการของลูกเพื่อให้เด็กแรกเกิด– 5 ปี ได้รับการดูแลและมีสุขภาพร่างกาย จิตใจ พัฒนาการที่สมบูรณ์เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมที่ถูกต้องในการเลี้ยงดูเด็กตามวัย
  2. 2. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการตามวัย และ เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียน ที่มีภาวะโภชนาการบกพร่องได้รับการเฝ้าระวังดูแลและแก้ปัญหา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 139
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ร้อยละ 90 ผู้ปกครองที่อบรม มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแลสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนได้อย่างถูกต้อง 2.เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 95 3.เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 85 4.เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองโภชนาการ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 95 5.เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 66


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมที่ถูกต้องในการเลี้ยงดูเด็กตามวัย
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองเด็กเข้ารับการอบรมเรื่องภาวะโภชนาการพัฒนาการตามวัยเด็ก 0-5 ปี ร้อยละ 100

     

    2 2. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการตามวัย และ เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียน ที่มีภาวะโภชนาการบกพร่องได้รับการเฝ้าระวังดูแลและแก้ปัญหา
    ตัวชี้วัด : 2.เด็ก 0-5 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์สูงดีสมส่วนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 66

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 139
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 139
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมที่ถูกต้องในการเลี้ยงดูเด็กตามวัย (2) 2. เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะโภชนาการและประเมินพัฒนาการตามวัย และ เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียน ที่มีภาวะโภชนาการบกพร่องได้รับการเฝ้าระวังดูแลและแก้ปัญหา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยสุขภาพดี โภชนาการตามเกณฑ์ พัฒนาการสมวัย จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 66-L4134-1-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุภาวณี ยูโซ๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด