กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้


“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปี 2566 ”

ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ จันทสุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L8402-1-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 สิงหาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L8402-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 สิงหาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 141,932.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever) เป็นโรคที่สามารถทำให้เสียชีวิตได้ โดยเกิดจากยุงลาย (Aedes aegypti) เป็นพาหะนำโรค ซึ่งเดิมเชื่อว่าโรคไข้เลือดออก มักจะระบาดในฤดูฝนเนื่องจากมีน้ำขังมากซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย แต่ปัจจุบันการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้เกิดการระบาดตลอดปี แต่ที่น่าเป็นห่วงคือ โรคไข้เลือดออกเกิดจากเชื้อไวรัส ไม่มีตัวยารักษา การรักษาจึงทำได้เพียงรักษาตามอาการ และโรคไข้เลือดออกสามารถเกิดได้กับประชาชนทุกเพศทุกวัย ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยจะส่งผลให้เกิดการรั่วของพลาสม่าเข้าในช่องเยื่อหุ้มปอด ในช่องท้อง ทำให้การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ส่งผลให้เกร็ดเลือดต่ำทำให้เลือดออกง่าย โดยอาจทำให้เกิดภาวะช๊อคและอาจเสียชีวิตได้ในที่สุด และเมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้น ไม่เพียงแต่เกิดผลเสียต่อสุขภาพเท่านั้น ยังส่งผลเสียทางด้านเศรษฐกิจ เช่นการต้องหยุดงานขาดรายได้ เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เข้าออกโรงพยาบาลฯลฯ ซึ่งนับได้ว่าเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญยิ่งโรคหนึ่ง จากข้อมูลของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่าสถานการณ์โรคไข้เลือดออกระดับประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 13 มิถุนายน 2566 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งหมด 6,156 ราย เสียชีวิต 4 ราย กลุ่มอายุที่พบมากที่สุดคือ 5- 14 ปี ในส่วนของจังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 333 ราย และจากข้อมูลระบาดวิทยา ย้อนหลัง 3 ปี ในพื้นที่ตำบลคูหาใต้ มีดังนี้ ปีพ.ศ. 2563 - 2565 มีจำนวนผู้ป่วย 8, 3, 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0.07, 0.02 ,0.02 ต่อแสนประชากร สำหรับปี พ.ศ. 2566 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม –  13 มิถุนายน มีจำนวนผู้ป่วย 7 ราย อัตราป่วย 0.06 ต่อแสนประชากร จะเห็นได้ว่าอัตราผู้ป่วยในแต่ละปีมีอัตราที่ไม่คงที่ลดลงและเพิ่มขึ้น จึงควรเร่งดำเนินการเฝ้าระวังการระบาดของโรคไข้เลือดออก ประกอบกับตามอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตำบลตามมาตรา ๕๐ กล่าวว่าเทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี้ (๔) ป้องกันและระงับโรคติดต่อ
ดังนั้น การดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ด้วยโรคไข้เลือดออกปัจจุบันได้เป็นโรคประจำถิ่นและสามารถเกิดการระบาดได้ตลอดทั้งปี โดยยังเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรงสามารถส่งผลให้เกิดการเสียชีวิตได้ และส่งผลให้เกิดการสูญเสียทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และสภาพจิตใจแก่ประชาชนในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค ในการนี้กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคูหาใต้ ได้ตระหนักถึงความรุนแรงและอันตรายจากโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 ขึ้น เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค ยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคและแก้ไขปัญหาดังกล่าวตามข้างต้น เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลคูหาใต้
  2. เพื่อลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด บ้านและชุมชน จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตลอดปี โดยมีค่า HI และ CI ในแต่ละหมู่บ้านไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ๒. ค่า CI ในสถานที่ราชการ โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และวัด ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ๓. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลตำบลคูหาใต้ ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
      (ตามเป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข) ๔. ไม่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เทศบาลตำบลคูหาใต้ ทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อรณรงค์ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลคูหาใต้
    ตัวชี้วัด : มีการรณรงค์ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลคูหาใต้
    80.00

     

    2 เพื่อลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : มีลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
    80.00

     

    3 เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด บ้านและชุมชน จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    ตัวชี้วัด : มีรณรงค์ส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด บ้านและชุมชน จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่รับผิดชอบของเทศบาลตำบลคูหาใต้ (2) เพื่อลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัด บ้านและชุมชน จัดกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ประจำปี 2566 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L8402-1-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประกอบ จันทสุวรรณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด