โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุไรรัตน์ จิรพงศ์วิริยะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล
มีนาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L8008-02-07 เลขที่ข้อตกลง 6/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L8008-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2566 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตและเป็นภาวะโรคอันดับต้นๆของประเทศไทยจากรายงานการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของประชากรไทยในปี2556 พบว่า มีคนไทยเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากกว่า 1 แสนคนต่อปี โดยเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร คิดเป็นร้อยละ75ของจำนวนประชากรที่เสียชีวิตทั้งหมด กลุ่มคนที่เป็นโรคไม่ติดต่อส่วนใหญ่ เกิดจากพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต เช่น การกินหวาน มัน เค็ม ตามใจ ปากมากเกินไป ทานผักผลไม้น้อย มีกิจกรรมการออกกำลังกายน้อย มีการสูบบุหรี่และดื่มแฮลกอฮอล์ในปริมาณที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ มีการเกิดภาวะอ้วน ระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดเพิ่มขึ้น ระดับความดันโลหิตสูงกว่าปกติ หากอาการของโรครุนแรงมากขึ้น อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงตามมา(สำนักงานโรคไม่่ติดต่อเรื้อรัง กรมควบคุมโรค,2556) ซึ่งผลจากภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ทำให้ผลการรักษาไม่เป็นที่น่าพอใจเท่าที่ควร ส่งผลต่อสุขภาพชีวิตของผู้ป่วยในระยะยาว ดังนั้นจากการคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในขั้นแรก และการดูแลติดตามผลในการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวข้างต้น จึงมีความจำเป็นและสำคัญอย่างยิ่ง
การป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จึงจำเป็นต้องมีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคจากประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชน ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบล(อสม)ชุมชนจงหัว จึงได้ จัดทำโครงการคัดกรองประชาชนทั่วไปที่มีอายุ35ปีขึ้นไปเข้ารับการตรวจคัดกรองเบื้องต้น และให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว ในการดูแลสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อลดการเกิดโรค ลดการเจ็บป่วย ลดอัตราการเสียชีวิต และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงต่อไปในอนาคตข้างหน้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนจงหัวได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น(คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)
- เพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ในโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปที่มีอายุ35ปีขึ้นไป
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง
40
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเท่าทันโรค
-อสมชุมชนจงหัวได้ความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วย และสามารถที่จะให้ความรู้กับญาติที่ดูแลในเขตรับผิดชอบของตนเองได้
-ป้องกันและดูแลประชาชนกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มแรก
-ลดการเกิดของโรค ลดการแทรกซ้อนของโรค และลดอัตราการป่วยของคนในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปที่มีอายุ35ปีขึ้นไป
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ เครื่องวัดความดันโลหิตสูง เครื่องเจาะปลายนิ้ว เครื่องตรวจน้ำตาล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีอุปกรณ์พร้อมในการทำกิจกรรมคัดกรอง
150
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง และอบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คัดกรองได้มากกว่า ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมาย
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนจงหัวได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น(คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย ร้อยละ 60 ได้รับการคัดกรองเบื้องต้น
250.00
150.00
2
เพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ในโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 50 สามมารถทำแบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
100.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
190
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง
40
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนจงหัวได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น(คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน) (2) เพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ในโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปที่มีอายุ35ปีขึ้นไป (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L8008-02-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวจุไรรัตน์ จิรพงศ์วิริยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวจุไรรัตน์ จิรพงศ์วิริยะ
มีนาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L8008-02-07 เลขที่ข้อตกลง 6/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L8008-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2566 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตและเป็นภาวะโรคอันดับต้นๆของประเทศไทยจากรายงานการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของประชากรไทยในปี2556 พบว่า มีคนไทยเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากกว่า 1 แสนคนต่อปี โดยเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร คิดเป็นร้อยละ75ของจำนวนประชากรที่เสียชีวิตทั้งหมด กลุ่มคนที่เป็นโรคไม่ติดต่อส่วนใหญ่ เกิดจากพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต เช่น การกินหวาน มัน เค็ม ตามใจ ปากมากเกินไป ทานผักผลไม้น้อย มีกิจกรรมการออกกำลังกายน้อย มีการสูบบุหรี่และดื่มแฮลกอฮอล์ในปริมาณที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ มีการเกิดภาวะอ้วน ระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดเพิ่มขึ้น ระดับความดันโลหิตสูงกว่าปกติ หากอาการของโรครุนแรงมากขึ้น อาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงตามมา(สำนักงานโรคไม่่ติดต่อเรื้อรัง กรมควบคุมโรค,2556) ซึ่งผลจากภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ทำให้ผลการรักษาไม่เป็นที่น่าพอใจเท่าที่ควร ส่งผลต่อสุขภาพชีวิตของผู้ป่วยในระยะยาว ดังนั้นจากการคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในขั้นแรก และการดูแลติดตามผลในการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวข้างต้น จึงมีความจำเป็นและสำคัญอย่างยิ่ง การป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จึงจำเป็นต้องมีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคจากประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชน ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบล(อสม)ชุมชนจงหัว จึงได้ จัดทำโครงการคัดกรองประชาชนทั่วไปที่มีอายุ35ปีขึ้นไปเข้ารับการตรวจคัดกรองเบื้องต้น และให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว ในการดูแลสุขภาพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อลดการเกิดโรค ลดการเจ็บป่วย ลดอัตราการเสียชีวิต และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงต่อไปในอนาคตข้างหน้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนจงหัวได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น(คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)
- เพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ในโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปที่มีอายุ35ปีขึ้นไป
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง | 40 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจเท่าทันโรค -อสมชุมชนจงหัวได้ความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วย และสามารถที่จะให้ความรู้กับญาติที่ดูแลในเขตรับผิดชอบของตนเองได้ -ป้องกันและดูแลประชาชนกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มแรก -ลดการเกิดของโรค ลดการแทรกซ้อนของโรค และลดอัตราการป่วยของคนในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปที่มีอายุ35ปีขึ้นไป |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ เครื่องวัดความดันโลหิตสูง เครื่องเจาะปลายนิ้ว เครื่องตรวจน้ำตาล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีอุปกรณ์พร้อมในการทำกิจกรรมคัดกรอง
|
150 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง |
||
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง และอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคัดกรองได้มากกว่า ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมาย
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนจงหัวได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น(คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน) ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย ร้อยละ 60 ได้รับการคัดกรองเบื้องต้น |
250.00 | 150.00 |
|
|
2 | เพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ในโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 50 สามมารถทำแบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน |
100.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 190 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 150 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง | 40 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนจงหัวได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น(คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน) (2) เพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ในโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจคัดกรองประชาชนทั่วไปที่มีอายุ35ปีขึ้นไป (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้้นไป จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L8008-02-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวจุไรรัตน์ จิรพงศ์วิริยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......