กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการชุมชนหมู่ที่ 2 ตำบลอุใดเจริญ ปลอดไข้เลือดออก (ภายใต้โครงการป้องกันและควบคุมกรณีการเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการชุมชนหมู่ที่ 2 ตำบลอุใดเจริญ ปลอดไข้เลือดออก (ภายใต้โครงการป้องกันและควบคุมกรณีการเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางอภิรดี ทองเต็ม

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนหมู่ที่ 2 ตำบลอุใดเจริญ ปลอดไข้เลือดออก (ภายใต้โครงการป้องกันและควบคุมกรณีการเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5282-05-01 เลขที่ข้อตกลง 06/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนหมู่ที่ 2 ตำบลอุใดเจริญ ปลอดไข้เลือดออก (ภายใต้โครงการป้องกันและควบคุมกรณีการเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนหมู่ที่ 2 ตำบลอุใดเจริญ ปลอดไข้เลือดออก (ภายใต้โครงการป้องกันและควบคุมกรณีการเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนหมู่ที่ 2 ตำบลอุใดเจริญ ปลอดไข้เลือดออก (ภายใต้โครงการป้องกันและควบคุมกรณีการเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5282-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลกองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ขณะนี้มีการระบาดของโรคไข้เลือด โดยจังหวัดสตูลมีอัตราผู้ป่วยสูงติด 1 ใน 5 จังหวัด เมื่อเทียบอัตราส่วนต่อแสนประชากร ได้แก่ จังหวัดตราด , น่าน , แม่ฮ่องสอน , จันทบุรี และสตูล ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 20 มิถุนายน 2566 ทั้งประเทศ  มีจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 21, 457 ราย เสียชีวิตแล้ว 19 ราย ซึ่งจังหวัดสตูล            มีผู้ป่วย 274 ราย เสียชีวิตแล้ว 2 ราย สำหรับพื้นที่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสูงสุดที่อำเภอละงู พบมากที่ตำบลกำแพง , ละงู , เขาขาว , ปากน้ำ และน้ำผุด โดยกลุ่มเด็กนักเรียนอายุระหว่าง 15-24 ปี จำนวน 71 ราย รองลงมาเป็นกลุ่มอายุระหว่าง 10-14 ปี จำนวน 60 ราย และอายุระหว่าง 5-9 ปี จำนวน 42 ราย คิดเป็นร้อยละ 60.94 (ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิถุนายน 2566) สำหรับพื้นที่ตำบล      อุใดเจริญจากรายงานการระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลควนกาหลง (ข้อมูลจาก โรงพยาบาลควนกาหลง)ในช่วงตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2566 เป็นต้นมาสถานการณ์การเกิดโรคระบาดที่เกิดจากยุง เช่น โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 – 31 มิถุนายน 2566  มีอัตราการป่วยเท่ากับ 22.79 รองลงมาจากตำบลทุ่งนุ้ย อัตราการป่วยเท่ากับ25.06 ซึ่งเมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มกระจายไปทั่วทุกหมู่บ้าน ซึ่งโรคไข้เลือดออกถือเป็นปัญหาโรคติดต่อทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญ ที่ต้องดำเนินการป้องกันควบคุมและแก้ไขโดยเร่งด่วน จากสถานการณ์ระบาดโรคไข้เลือดออก หน่วยงานภาครัฐจึงได้ส่งเสริมให้มีการดำเนินการป้องกันและควบคุม โรคไข้เลือดออกในทุกพื้นที่ของประเทศ และพบว่าอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกยังมีอัตราที่สูงขึ้น ดังนั้นจึงมีโอกาสพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้ตลอดเวลา ในการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนักในป้องกันการเกิดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุง ด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมรอบด้วยหลัก 5 ป บริเวณบ้านของตนเอง

ดังนั้นเพี่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของโรคและอันตรายของโรค และอาสาสมัครสาธารณสุขมีความพร้อมในการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกข้างต้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 จึงขอเสนอโครงการชุมชนหมู่ที่ 2 ตำบล    อุใดเจริญ ปลอดไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ เพื่อดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกด้วยตนเอง
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความพร้อมในการควบคุม ป้องกันและลดปัญหาการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงแนวทางและวิธีดำเนินกิจกรรมโครงการ
  2. กิจกรรมรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายและการจัดการขยะ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน ตามหลัก 3 เก็บ 5 ป 1 ข
  3. การลงพื้นที่ฉีดพ่นสารเคมีเผชิญเหตุเบื้องต้นให้กับบ้านผู้ป่วย
  4. กิจกรรมการสรุป ประเมินผลและรายงานผลโครงการ
  5. ลงสำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลาย (หยอดทรายอะเบต คว่ำภาชนะ หรือปล่อยปลาหางนกยูง) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  6. พ่นหมอกควัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความเข้าใจและสามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ได้
  2. บ้านผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกได้รับการควบคุมโรคตามมาตรฐาน 3-3-1

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ลดลง

 

2 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความพร้อมในการควบคุม ป้องกันและลดปัญหาการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ชุมชนได้
ตัวชี้วัด : บ้านผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกได้รับการควบคุมโรคตามมาตรฐาน 3-3-1

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกด้วยตนเอง (2) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความพร้อมในการควบคุม ป้องกันและลดปัญหาการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงแนวทางและวิธีดำเนินกิจกรรมโครงการ (2) กิจกรรมรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายและการจัดการขยะ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน ตามหลัก 3 เก็บ 5 ป 1 ข (3) การลงพื้นที่ฉีดพ่นสารเคมีเผชิญเหตุเบื้องต้นให้กับบ้านผู้ป่วย (4) กิจกรรมการสรุป ประเมินผลและรายงานผลโครงการ (5) ลงสำรวจและทำลายลูกน้ำยุงลาย (หยอดทรายอะเบต คว่ำภาชนะ หรือปล่อยปลาหางนกยูง) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง (6) พ่นหมอกควัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนหมู่ที่ 2 ตำบลอุใดเจริญ ปลอดไข้เลือดออก (ภายใต้โครงการป้องกันและควบคุมกรณีการเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5282-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอภิรดี ทองเต็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด