กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง


“ โครงการการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านทุ่ง ตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางปารีณา คงถิ่น นางสาวฟาตีม๊ะ แดงคง

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านทุ่ง ตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L8409-02-21 เลขที่ข้อตกลง 18/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านทุ่ง ตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านทุ่ง ตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านทุ่ง ตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L8409-02-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,120.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนซึ่งยุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อ มีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรค ประกอบด้วย บุคคล เชื้อโรค พาหนะนำโรค และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือบุคคลต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ เชื้อโรคต้องไม่มีหรือมีจำนวนน้อย พาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อยและที่สำคัญคือสิ่งแวดล้อม ต้องถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะจึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชนทำได้ปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใดชุมชนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นการป้องกันโรคติดต่อต่างๆในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้นๆมีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจะได้ผลจะต้องได้รับ ความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน จากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของจังหวัดสตูล พบว่าในปี 2566 พบผู้ป่วย 163 ราย คิดเป็นอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก 146.65 ต่อแสนประชากร และในตำบลฉลุงมีผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 33 ราย คิดเป็นอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก 254.2 ต่อแสนประชากร (ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิถุนายน 2566 ที่มาของข้อมูล สาธารณสุขอำเภอเมืองสตูล) และแนวโน้มจะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้น เนื่องจากยังพบว่าประชาชนในตำบลฉลุงยังไม่ให้ความสำคัญกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณที่พักอาศัย ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ
ดังนั้นกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านทุ่ง จึงได้จัดทำโครงการการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ในปี 2566 ขึ้น โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อลดค่า HI และ CI โดยการสร้างความตระหนักให้แก่แกนนำสุขภาพครัวเรือนดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายบริเวณที่พักอาศัย ทุกหลังคาเรือนอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยต้องสะอาดถูกสุขลักษณะไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่แกนนำสุขภาพครัวเรือนในดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายบริเวณที่พักอาศัย 2. เพื่อลดค่า HI, CI 3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวนร้อยละ ๑0 เปอร์เซ็นต์ ของปีที่ผ่านมา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 237
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. แกนนำสุขภาพครัวเรือนมีความรู้และดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายบริเวณที่พักอาศัยตนเอง
    2. ค่า HI และ CI ลดลง
    3. ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมีจำนวนลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่แกนนำสุขภาพครัวเรือนในดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายบริเวณที่พักอาศัย 2. เพื่อลดค่า HI, CI 3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวนร้อยละ ๑0 เปอร์เซ็นต์ ของปีที่ผ่านมา
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 237
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 237
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่แกนนำสุขภาพครัวเรือนในดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายบริเวณที่พักอาศัย 2. เพื่อลดค่า HI, CI  3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวนร้อยละ ๑0 เปอร์เซ็นต์ ของปีที่ผ่านมา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านทุ่ง ตำบลฉลุง ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 66-L8409-02-21

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปารีณา คงถิ่น นางสาวฟาตีม๊ะ แดงคง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด