กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ประชุมคณะกรรมการ ชี้แจงแผนงานโครงการและสถานการณ์โรคติดต่อที่เกิดจากยุงในปัจจุบันแก่เครือข่ายสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนขันทั้งหาแนวทางควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  2. รณรงค์สำรวจดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย (HI, CI) ในพื้นที่ทุกหลังคาเรือน โดย อสม.และให้ความรู้กับการกำจัดและควบคุมลูกน้ำยุงลายในทุกครัวเรือน พร้อมทั้งแจกทรายที่มีฟอสกำจัดลูกน้ำ สำหรับน้ำใช้ในครัวเรือนทุกหลังคาเรือน
  3. ประสานงานกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลคูหาใต้ รณรงค์พ่นหมอกควันในชุมชนกำจัดยุงในพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนขันทั้งสิ้น 5 หมู่บ้าน (หมู่ที่ 2,3,4, 8 และ 12 ต.คูหาใต้)
  4. กรณีพบผู้ป่วยและผู้ป่วยสงสัยเป็นโรคไข้เลือดออกชุมชน เร่งดำเนินการควบคุมและสอบสวนโรค โดยการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในบ้านผู้ป่วยหรือสงสัยป่วยและบ้านใกล้เคียงในรัศมี 100 เมตร รวมทั้งค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่ พร้อมทั้งสนับสนุนสเปรย์กำจัดยุงและโลชั่นทากันยุงและทรายที่มีฟอสให้กับบ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียง รัศมี 100 เมตร เพื่อกำจัดยุงในบ้านและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  5. รณรงค์ เผยแพร่ความรู้ โดยการประชาสัมพันธ์ทางสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ใบความรู้ แผ่นพับในสถานบริการ ป้ายประชาสัมพันธ์ (ไวนิล) ในชุมชน
  6. อบรมแกนนำ (อสม.) เฝ้าระวัง ป้องกัน โรคติดต่อที่เกิดจากยุง จำนวน 81 คน
  7. จัดกิจกรรม Big Cleaning Day ในชุมชน วัด และโรงเรียน ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง จำนวน 2 ครั้ง
  8. เฝ้าระวัง แจ้งเตือน ผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดย อสม. แกนนำเฝ้าระวัง ในชุมชน ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น โทรศัพท์ Line หรือ Messenger ฯลฯ
  9. รณรงค์การใช้สมุนไพรไล่ยุงในครัวเรือน เช่น ตะไคร้หอม ต้นสะเดา ต้นโหระพา 10.สรุปผลโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่บ้าน( HI )ไม่เกินร้อยละ 5 และในสถานที่สาธารณะอื่น ( CI ) เป็น 0
5.00 5.00

ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่บ้าน( HI )ไม่เกินร้อยละ 5 และในสถานที่สาธารณะอื่น ( CI ) เป็น 0

2 เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐาน มากกว่าร้อยละ ๒๐
20.00 20.00

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐาน มากกว่าร้อยละ ๒๐

3 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ร่วมมือในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงในชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ไม่เกิน ๕๐ คนต่อแสนประชากร
50.00 50.00

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ไม่เกิน ๕๐ คนต่อแสนประชากร

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 81 81
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 81 81
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน (3) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ร่วมมือในการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh