กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสันป่าม่วง


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและรู้ทันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019(Covid-19) ”

บ้านสันป่าม่วงเหนือ ม.5 ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

หัวหน้าโครงการ
นายจารุกิตย์ ทิพย์ชุมภู

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและรู้ทันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019(Covid-19)

ที่อยู่ บ้านสันป่าม่วงเหนือ ม.5 ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จังหวัด พะเยา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2566 ถึง 2 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและรู้ทันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019(Covid-19) จังหวัดพะเยา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านสันป่าม่วงเหนือ ม.5 ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสันป่าม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและรู้ทันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019(Covid-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและรู้ทันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019(Covid-19) " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านสันป่าม่วงเหนือ ม.5 ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2566 - 2 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสันป่าม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ยังเป็นโรคที่น่าติดตามและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ถึงแม้ทางกระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศจากโรคติดต่อร้ายแรงเป็นโรคติดตามเฝ้าระวัง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ที่ผ่านมา ต่อไปผู้ป่วยที่ติดเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019(Covid-19) ก็สามารถที่จะไปรับยาที่สถานพยาบาลใกล้บ้านแล้วนำไปทานยาที่บ้าน โดยไม่ต้องกักตัวเหมือนก่อนหน้านี้ แต่จากการติดตามการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019(covid-19) พบว่ายังมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้จะไม่รุนแรงก็ตาม ซึ่งทางคณะกรรมการหมู่บ้านสันป่าม่วงเหนือยังตระหนักถึงคนในชุมชนในเรื่องของการใช้ชีวิตประจำวัน เพราะผลกระทบต่อผู้ที่ติดเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า2019(covid-19) ยังมีความน่ากลัว เพราะหากไม่สามารถดูแลตัวเองให้ปลอดภัยจากการแพร่เชื้อโรคดังกล่าวแล้ว โดยเฉพาะกลุ่ม 608 ซึ่งจะต้องได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นให้ครบอย่างน้อย 2-3 เข็ม ซึ่งจากการสำรวจประชาชนในหมู่บ้านสันป่าม่วงเหนือ หมู่ที่ 5 ผู้ที่ได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้นในกลุ่ม 608 พบว่ายังมีไม่ถึง 50% อีกทั้งพบปัญหาด้านสุขภาพหลังจากผู้ที่ติดเชื้อแล้วหายเป็นปกติ ผลที่ตามมาคือสุขภาพร่างกายที่ไม่เหมือนเดิมและผิดปกติ กล่าวคือ ระบบการหายใจ(อาการไอเรื้อรัง) ระบบการทำงานของสมอง(สั่งงานช้า) ระบบการทำงานของกล้ามเนื้อ(อ่อนเพลียง่าย) และระบบสายตา(พล่ามัว) มีคุณภาพลดลงและคนในชุมชนบ้านสันป่าม่วงเหนือส่วนใหญ่ยังไม่ทราบถึงปัญหาดังกล่าวนั้นเกิดจากการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 หรือไม่ และจะมีวิธีแก้ไขอย่างไร
ดังนั้น ทางกลุ่มกรรมการหมู่บ้านสันป่าม่วงเหนือ หมู่ที่ 5 จึงได้ประชุมและประชาคมหมู่บ้านเพื่อเสนอโครงการฯ ดังกล่าวเพื่อของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นตำบลสันป่าม่วง เพื่อดำเนินจัดการอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ ร่วมถึงการป้องกันและผลกระทบในเรื่องของโรคโควิด-19 ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. จัดประชุมและประชาคมเพื่อคัดเลือกโครงการ
  2. 2. จัดส่งโครงการฯ เสนอของบประมาณในการจัดทำโครงการฯ
  3. 3. เมื่อได้รับการอนุมัติ กำหนดวัน เวลา และสถานที่ และดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ
  4. 4. สรุปผลการดำเนินการจัดทำโครงการ – ข้อเสนอแนะ-ปัญหาและอุปสรรค รายงานต่อกองทุนหลักประกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจและตระหนักพิษภัยของโรคโควิด-19
  2. ประชาชนทราบถึงวิธีดูแล ป้องกันตนเองทั้งก่อนและหลังการติดโรคโควิด-19
  3. ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเผยแพร่ให้กับบุคคลในครอบครัวได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. จัดประชุมและประชาคมเพื่อคัดเลือกโครงการ

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดประชุม
  2. ประชาคมเพื่อคัดเลือกโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการ

 

0 0

2. 2. จัดส่งโครงการฯ เสนอของบประมาณในการจัดทำโครงการฯ

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดส่งโครงการฯ เสนอของบประมาณในการจัดทำโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ส่งโครงการฯ เสนอของบประมาณในการจัดทำโครงการฯ

 

0 0

3. 3. เมื่อได้รับการอนุมัติ กำหนดวัน เวลา และสถานที่ และดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เมื่อได้รับการอนุมัติ กำหนดวัน เวลา และสถานที่ และดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ

 

0 0

4. 4. สรุปผลการดำเนินการจัดทำโครงการ – ข้อเสนอแนะ-ปัญหาและอุปสรรค รายงานต่อกองทุนหลักประกัน

วันที่ 21 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินการจัดทำโครงการ – ข้อเสนอแนะ-ปัญหาและอุปสรรค รายงานต่อกองทุนหลักประกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลการดำเนินการจัดทำโครงการ – ข้อเสนอแนะ-ปัญหาและอุปสรรค รายงานต่อกองทุนหลักประกัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดประชุมและประชาคมเพื่อคัดเลือกโครงการ (2) 2. จัดส่งโครงการฯ เสนอของบประมาณในการจัดทำโครงการฯ (3) 3. เมื่อได้รับการอนุมัติ กำหนดวัน เวลา และสถานที่ และดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ (4) 4. สรุปผลการดำเนินการจัดทำโครงการ – ข้อเสนอแนะ-ปัญหาและอุปสรรค รายงานต่อกองทุนหลักประกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและรู้ทันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019(Covid-19) จังหวัด พะเยา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจารุกิตย์ ทิพย์ชุมภู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด