กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหารในร้านค้าขายของชุมชนตำบลปากคม ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L1535-2-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลปากคม
วันที่อนุมัติ 25 สิงหาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2566 - 16 ตุลาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 18 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 17,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายบุญมาก ถิ่นชาญ
พี่เลี้ยงโครงการ นายกมลชัย ดำทิพย์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.732,99.607place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
20.00
2 ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
50.00
3 ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
70.00
4 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน
40.00
5 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม
60.00
6 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)
50.00
7 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
10.00
8 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม
10.00
9 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะเตี้ย
20.00
10 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะสูงดีสมส่วน
70.00
11 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด
50.00
12 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน
40.00
13 ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2
40.00
14 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
2.00
15 ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเพศสัมพันธ์เสี่ยง
5.00
16 ร้อยละของเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่
10.00
17 ร้อยละของเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นนักดื่มหน้าใหม่
10.00
18 ร้อยละของเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น
30.00
19 ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
20.00
20 ร้อยละของประชาชนทีมีการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคหวัด
50.00
21 ร้อยละของประชาชนทีมีการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคอุจจาระร่วง
40.00
22 ร้อยละเยาวชนชายมุสลิมที่ขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์(คน)
0.00
23 จำนวนของเกษตรกร(คน)ที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
0.00
24 จำนวน(คน)ผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
0.00
25 ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
5.00
26 ร้อยละของเยาวชน (อายุ 10-15 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์
50.00
27 ร้อยละของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์
70.00
28 ร้อยละของเยาวชน (อายุต่ำกว่า 20 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ
40.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้น ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ ลอกเลียนแบบ เจือปนสารอันตรายลงไป หรือหากบริการสุขภาพนั้นไม่ได้มาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจนอาจทำให้เสียชีวิตได้ ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นร้านที่ผู้บริโภคจับจ่ายใช้สอยและซื้อสินค้ามากที่สุด เนื่องจากเป็นร้านที่อยู่ในหมู่บ้าน สะดวกในการซื้อสินค้า และเป็นร้านที่จำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง อาหารสำเร็จรูป เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป บุหรี่และแอลกอฮอล์ แต่จากการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคพบว่า การใช้เครื่องอุปโภคบริโภค ที่ไม่ได้มาตรฐานจากร้านขายของชำในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่ไม่ได้คุณภาพ จำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชน และยังจำหน่ายยาบางชนิดที่ไม่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพ ความรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค ตรวจสอบและเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ตลอดจนเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการร้านขายของชำในหมู่บ้านให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหาร และเครื่องสำอางมากยิ่งขึ้น ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปากคมจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนปราศจากโรคและภัยคุกคามจากการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

20.00 50.00
2 เพื่อลดเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

50.00 70.00
3 เพื่อเพิ่มเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

70.00 80.00
4 เพื่อลดภาวะอ้วนในเด็ก 6-14 ปี

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน

40.00 60.00
5 เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

60.00 70.00
6 เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

50.00 60.00
7 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

10.00 50.00
8 เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

10.00 40.00
9 เพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะเตี้ย

20.00 60.00
10 เพื่อเพิ่มภาวะสูงดีสมส่วนในเด็ก 6-14 ปี

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะสูงดีสมส่วน

70.00 80.00
11 เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์

ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

50.00 60.00
12 เพื่อลดภาวะอ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน

40.00 60.00
13 เพื่อลดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ของประชากร (อายุมากกว่า 18 ปี)

ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

40.00 60.00
14 เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

2.00 100.00
15 เพื่อลดปัญหา ประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์

ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ ลดลง

5.00 100.00
16 เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่

ร้อยละของเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่ ลดลง

10.00 100.00
17 เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นนักดื่มหน้าใหม่

ร้อยละของเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นนักดื่มหน้าใหม่

10.00 100.00
18 เพื่อแก้ปัญหาเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น

ร้อยละของเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น

30.00 50.00
19 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค

ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค

20.00 60.00
20 เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคหวัด

ร้อยละของประชาชนทีมีการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคหวัด

50.00 60.00
21 เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคอุจจาระร่วง

ร้อยละของประชาชนทีมีการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)ในโรคอุจจาระร่วง

40.00 60.00
22 เพื่อเพิ่มการมุสลิมขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์เยาวชนชายขึ้น

ร้อยละของเยาวชนชายมุสลิมที่ขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์

0.00 100.00
23 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

0.00 100.00
24 เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

จำนวนผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)

0.00 100.00
25 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด

5.00 20.00
26 เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์

ร้อยละของเยาวชน (อายุ 10-15 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์  ลดลง

50.00 70.00
27 เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี)

ร้อยละของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ลดลง

70.00 80.00
28 เพื่อลดภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ

ร้อยละของเยาวชน (อายุต่ำกว่า 20 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการตั้งครรภ์ซ้ำ ลดลง

40.00 60.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ย. 66ต.ค. 66
1 จัดตั้ง แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และจัดอบรมให้ความรู้พัฒนาศักยภาพ ตลอดถึงผู้ประกอบการ ร้านค้า/ของชำ(15 ก.ย. 2566-15 ก.ย. 2566) 13,200.00    
2 อบรมเชิงปฏิบัติการ การตรวจ เฝ้าระวังทางอาหารและน้ำตลอดถึงเครื่องสำอางโดยใช้ชุดทดสอบทางเคมีเบื้องต้น(15 ก.ย. 2566-15 ก.ย. 2566) 3,800.00    
3 เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.และ ท้องถิ่น ตลอดถึง อสม.แกนนำคุ้มครองผู้บริโภคออกตรวจเฝ้าระวังร้านขายของชำและร้านอาหารในหมู่บ้านติดตาม และตรวจประเมินเฝ้าระวัง(15 ก.ย. 2566-15 ก.ย. 2566) 0.00    
รวม 17,000.00
1 จัดตั้ง แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค และจัดอบรมให้ความรู้พัฒนาศักยภาพ ตลอดถึงผู้ประกอบการ ร้านค้า/ของชำ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 13,200.00 0 0.00
25 ส.ค. 66 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คนๆละ 70 บาท เป็นเงิน 4,200.00 บาท 0 4,200.00 -
15 ก.ย. 66 ค่าอาหารว่าง จำนวน 60 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000.00 บาท 60 3,000.00 -
15 ก.ย. 66 ค่าคู่มือเอกสารความรู้ จำนวน 60 คนๆละ 40 บาท เป็นเงิน 2,400.00 บาท 0 2,400.00 -
15 ก.ย. 66 ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท 0 3,600.00 -
2 อบรมเชิงปฏิบัติการ การตรวจ เฝ้าระวังทางอาหารและน้ำตลอดถึงเครื่องสำอางโดยใช้ชุดทดสอบทางเคมีเบื้องต้น กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 3,800.00 0 0.00
25 ส.ค. 66 ตะเกียงวิทยาศาสตร์ฆ่าเชื้อ จำนวน 2 อันๆละ 150 บาท 0 300.00 -
15 ก.ย. 66 ค่าน้ำมันเติมตะเกียงวิทยาศาสตร์ จำนวน 3 ปอนด์ๆละ 70 บาท 0 210.00 -
15 ก.ย. 66 ค่าขวดแก้วเก็บตัวอย่างน้ำแบบสเตอร์ไรด์ จำนวน 4 ขวดๆละ 140 บาท 0 560.00 -
15 ก.ย. 66 ไม้พันสำลีปลอดเชื้อ จำนวน 2 ห่อๆละ 50 บาท 0 100.00 -
15 ก.ย. 66 ชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI-2) จำนวน 20 ขวดๆละ 30 บาท 0 600.00 -
15 ก.ย. 66 ชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (อ.11) จำนวน 20 ขวดๆละ 60 บาท 0 1,200.00 -
15 ก.ย. 66 ชุดทดสอบเกลือ จำนวน 1 ชุดๆละ 200 บาท 0 200.00 -
15 ก.ย. 66 แบบประเมินร้านขายของชำและร้านอาหารปรุงสุก จำนวน 40 ชุดๆละ 5 บาท 0 200.00 -
15 ก.ย. 66 ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้ายๆละ 430 บาท 0 430.00 -
3 เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.และ ท้องถิ่น ตลอดถึง อสม.แกนนำคุ้มครองผู้บริโภคออกตรวจเฝ้าระวังร้านขายของชำและร้านอาหารในหมู่บ้านติดตาม และตรวจประเมินเฝ้าระวัง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และการบริการสุขภาพที่ผิดกฎหมาย 2. เพื่อให้แกนนำคุ้มครองผู้บริโภค ผู้ประกอบการร้านค้าร้านอาหารและประชาชนทั่วไป จำนวน 60 คน มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร,ยา,เครื่องสำอาง,ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
3.เพื่อเฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพในร้านขายของชำ ที่ผิดกฎหมาย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 ส.ค. 2566 13:33 น.