กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์เรื่องขยะเพื่อโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่โรงเรียนบ้านบางลาง
รหัสโครงการ 66-L4127-02-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านบางลาง
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2566
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะซากี การี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 320 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
85.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
75.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องได้รับการดูแลแก้ไข โดยเฉพาะขยะที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว โรงเรียนก็เจอกับปัญหาขยะ ทำให้สภาพสิ่งแวดล้อมไม่ดี ไม่สะอาด จึงคิดหาวิธีการเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการคัดแยกขยะด้วยนักเรียนเพื่อเป็นการรักษาสภาพแวดล้อมอีกทั้งยังสามารถ สร้างรายได้ให้กับนักเรียนอีกทางหนึ่งด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนปลอดขยะนี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

85.00 90.00
2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

75.00 85.00
3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ

ร้อยละของนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ

70.00
4 เพื่อสร้างวินัย จิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียน

ร้อยละของการสร้างวินัย จิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียน

80.00
5 เพื่อให้นักเรียนและชุมชนโดยรอบเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาะอนามัยหากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม

ร้อยละของนักเรียนและชุมชนโดยรอบเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาะอนามัยหากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม

70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66
1 กิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียน(2 ส.ค. 2566-30 ส.ค. 2566) 30,000.00          
รวม 30,000.00
1 กิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 320 30,000.00 0 0.00
1 ส.ค. 66 - 30 ธ.ค. 66 ให้ความรู้แก่นักเรียน 320 30,000.00 -
  1. ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ/กิจกรรม
  2. เชิญวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียน
  3. กิจกรรมคัดแยกขยะ
  4. กิจกรรมนำขยะมาใช้ประโยชน์
  5. ลงมือปฏิบัติการทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ
  6. กิจกรรมธนาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม
  7. ประเมินผลโครงการ สรุปการประเมินผล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ
  2. ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีวินัยและจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม
  3. ร้อยละ 80 ของนักเรียนและชุมชนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยหากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ