กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านบาเจาะ
รหัสโครงการ 66-L4127-02-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านบาเจาะ
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2566
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรอหานิง เบ็ญหมัด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 299 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 29 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต
65.00
2 ร้อยละของเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่
75.00
3 ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
65.00
4 ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
85.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การมีสุขภาวะที่ดีและมีสุขอนามัยดีด้วย ถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทย
แต่ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทั้งนี้สาเหตุเนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ไม่ถูกต้องของบุคคลตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคม สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญและจําเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาการทุกๆ ด้านในตัวบุคคล สุขภาพถือเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิตปัจจุบัน สุขภาพวางอยู่บนพื้นฐานที่ว่าด้วยเรื่องสุขภาวะ ทั้งมิติทางกาย ทางใจ ทางสังคมและทางปัญญา การส่งเสริมสุขภาพเป็นกระบวนการเพิ่มสมรรถนะให้นักเรียนมีความสามารถในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพตนเอง อันจะเป็นผลต่อสุขภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิตใจและทางสังคม สุขภาพเป็นขุมพลังของชีวิต นอกจากนี้ปัจจุบันการสร้างเสริมสุขภาพไม่เป็นเพียงระบบย่อยของระบบสุขภาพแต่เป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาระบบสุขภาพสู่เป้าหมายในภาพรวม องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสุขภาพและระบบสุขภาพจึงไม่ใช่เรื่องของระบบการแพทย์เพียงอย่างเดียว แต่เป็นเรื่องความร่วมมือกันของสังคม บทบาทที่สำคัญของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านบาเจาะ จึงจำเป็นต้องร่วมสร้างค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพด้วยการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ด้วยการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย และเอื้อต่อการมีสุขภาพดีสามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ ร่วมสร้างวัฒนธรรมของการดำเนินชีวิตที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ตลอดได้เรียนรู้ความหมายของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และสถานนการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังธรรมชาติวิทยาของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จากที่กล่าวมาข้างต้น โรงเรียนบ้านบาเจาะได้เห็นความจำเป็นและความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านบาเจาะ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจคความหมายของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังธรรมชาติวิทยาของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนมีทักษะและเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถขยายผลไปยังคนในชุมชนในพื้นที่ ได้อย่างถูกต้องต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต

ร้อยละของหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต

65.00 80.00
2 เพื่อลดอัตราเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่

ร้อยละของเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่ ลดลง

75.00 85.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด

65.00 70.00
4 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค

ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค

85.00 90.00
5 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว ชุมชน  และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

80.00
6 เพื่อให้นักเรียนมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในชุมชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง

ร้อละของนักเรียนมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว  และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในชุมชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง

85.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 ประชุมชี้แจง ให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาในการดำเนินงานตามโครงการ ส่งเสริมการดูแลสุขภาวะ และสุขอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านบาเจาะ(1 ต.ค. 2565-30 ต.ค. 2565) 0.00                        
2 จัดอบรมให้ความรู้กับนักเรียน บุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน(1 ส.ค. 2566-30 ก.ย. 2566) 30,000.00                        
รวม 30,000.00
1 ประชุมชี้แจง ให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาในการดำเนินงานตามโครงการ ส่งเสริมการดูแลสุขภาวะ และสุขอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านบาเจาะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 จัดอบรมให้ความรู้กับนักเรียน บุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 328 30,000.00 0 0.00
30 ส.ค. 66 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านบาเจาะ 328 30,000.00 -

๑. ประชุมชี้แจง ให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาในการดำเนินงานตามโครงการ ส่งเสริมการดูแลสุขภาวะ และสุขอนามัยของนักเรียนโรงเรียนบ้านบาเจาะ ๒. จัดอบรมให้ความรู้กับนักเรียน บุคลากรทางการศึกษาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ๓. ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องเพื่อทบทวนและปรับปรุง กระบวนการ/ขั้นตอนการดำเนินงาน เพื่อวางแผนการดำเนินงานครั้งต่อไป ให้เกิดประสิทธิภาพ ๔. จัดทำเอกสารสรุปและรายงานผล เสนอต่อผู้บริหาร

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. บุคลากรและนักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาจากการอบรม                                2. บุคลากรนักเรียนที่ได้รับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
  2. ผลการประเมินความพึงพอใจการดำเนินงานในภาพรวมอยู่ในระดับ ดีมาก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ