กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ


“ โครงการส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันเด็ก-เยาวชนจมน้ำ ”

ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายตัรมีซี สาแลแม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันเด็ก-เยาวชนจมน้ำ

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3057-2-8 เลขที่ข้อตกลง 22/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันเด็ก-เยาวชนจมน้ำ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันเด็ก-เยาวชนจมน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันเด็ก-เยาวชนจมน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3057-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) รายงานการจมน้ำระดับโลก (Global Report on Drowning) ขององค์การอนามัยโลก พบว่าในแต่ละปีมีคนจมน้ำเสียชีวิตสูงถึง ๓๗๒,๐๐๐ คน คนที่จมน้ำเสียชีวิตมากกว่าร้อยละ ๕๐ อยู่ในกลุ่มอายุต่ำกว่า ๒๕ ปี ทั้งนี้ในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี พบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับ ๓ รองจากโรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis) และเอดส์ (HIV) โดยมีการเสียชีวิตปีละ ๑๔๐,๒๑๙ คนประเทศไทยในกลุ่มเด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี การจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งในทุกสาเหตุทั้งโรคติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน (ปี พ.ศ.๒๕๔๗-๒๕๕๖) อยู่ในช่วง ๗.๖-๑๑.๕ และมีจำนวนการเสียชีวิตเฉลี่ยปีละ ๑,๒๔๓ คนหรือวันละ ๓.๔ คน อัตราการป่วยตาย (Case Fatality Rate) จากการจมน้ำ เท่ากับร้อยละ ๓๗.๒ กลุ่มประชากรที่เสี่ยงได้แก่ เด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปีซึ่งมีสัดส่วนการเสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำสูงถึงร้อยละ ๓๐ ของทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะเพศชายมีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าเพศหญิงประมาณ ๒ เท่าตัว เด็กอายุ ๕-๙ ปี มีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าในทุกกลุ่มวัย จังหวัดตรังมีอัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคนจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จำนวน ๙ ราย คิดเป็น ๖.๗ ต่อประชากรแสนคน และจากข้อมูลการเฝ้าระวังพบว่าเด็กมักจะจมน้ำเสียชีวิตพร้อมกันครั้งละหลายๆคน เนื่องจากเด็กไม่รู้วิธีการเอาชีวิตรอดในน้ำและวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้องจึงมักกระโดดลงไปช่วยคนที่ตกน้ำ และจากการศึกษาของสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคพบว่าเด็กไทยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี ว่ายน้ำเป็นร้อยละ ๒๓.๗ และว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ (มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยเหลือ) เพียงร้อยละ ๔.๔ ทั้งนี้เด็กที่เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำ มากกว่าคนที่ไม่ได้เรียนถึง ๗.๔ เท่า, ๒๐.๗ เท่า และ ๒.๗ เท่า ตามลำดับ ช่วงเดือนเมษายนเป็นช่วงที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด เท่ากับ ๑๔๙ คน รองลงมาคือเดือนพฤษภาคมและมีนาคม มีจำนวน ๑๒๗ คนและพฤษภาคม ๑๒๔ คน ซึ่งช่วงดังกล่าวเป็นช่วงปิดภาคการศึกษา ทั้งนี้ยังพบว่าในช่วงวันธรรมดามีการเสียชีวิตจากการจมน้ำสูงกว่าช่วงวันเสาร์ อาทิตย์ ทั้งนี้ช่วงเวลา ๑๒.๐๐-๑๗.๕๙ น. ยังคงเป็นช่วงเวลาที่มีการเกิดเหตุสูงสุด สถานที่ที่เด็กตกน้ำ จมน้ำอยู่ที่บ้าน และบริเวณบ้านสูงที่สุด (ร้อยละ ๓๘.๕) แหล่งน้ำที่มีเด็กเสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำสูงที่สุด คือ แหล่งน้ำธรรมชาติ (ร้อยละ ๔๙.๔) รองลงมาคือสระว่ายน้ำ (ร้อยละ ๖.๙) และอ่างอาบน้ำ (ร้อยละ ๔.๖) การดื่มแอลกอฮอล์ก่อนลงเล่นน้ำเป็นปัจจัยเสี่ยงหนึ่งที่ก่อให้เกิดการตกน้ำ จมน้ำ เด็กอายุ ๑๐-๑๔ ปีที่บาดเจ็บรุนแรงจากการตกน้ำ จมน้ำมีการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ ๓.๐๓ ในปี 2545 ได้มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตจากการเล่นน้ำในคลองบ้านบน ตำบลปะเสยะวอ ต่อมาในปี 2561 ได้มีประชาชนเสียชีวิตจากการจมน้ำทะเลบริเวณชายหาดบ้านบน(ซัมพลีมอ) ตำบลปะเสยะวอ และในปี 2565 ได้มีเยาวชนในพื้นที่หมู่ 7 เสียชีวิตจากการจมน้ำคลอง ซึ่งพบว่าผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำสามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกวัย หากไม่มีการให้ความรู้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนในการป้องกันการจมน้ำ จำนวนผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำในพื้นที่ตำบลปะเสยะวออาจมีเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ ภายในพื้นที่ตำบลปะเสยะวอ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต ชมรมฟิตยะฮ์มัสยิดนูรุลอิฮ์ซานกัมปงอาตัส ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการ “การส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันเด็กจมน้ำ”เพื่อให้ทุกคนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง
  2. 2 เพื่อให้อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วิธีดำเนินการ
  2. กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง   2. ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมมีความเข้าใจเนื้อหาที่ได้อบรม(แบบสอบถาม)
100.00

 

2 2 เพื่อให้อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง
ตัวชี้วัด : เด็กจมน้ำในพื้นที่ลดลง
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง (2) 2 เพื่อให้อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วิธีดำเนินการ (2) กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมความปลอดภัยและป้องกันเด็ก-เยาวชนจมน้ำ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3057-2-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายตัรมีซี สาแลแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด