กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส


“ โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส ประจำปี 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นายทิวา สังขบุญญา

ชื่อโครงการ โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส ประจำปี 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L5164-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส ประจำปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2567-L5164-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (The Community Health Security Fund) "กองทุนสุขภาพตำบล" นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนกองทุนฯ นอกจากมีเจตนารมย์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนให้ประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง และการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้มีความสามารถในการบริหารด้านสาธารณสุขแก่ประชาชน นับว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะเป็นกลไกสำคัญให้การดำเนินงานของกองทุนฯ มีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลและเกิดประโยชน์กับประชาชนในพื้นที่มากที่สุดประกอบกับตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ข้อ 10 เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติและข้อ 10 (4)เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนฯ ตามข้อ 7 อาจสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้อีกไม่เกินร้อยละ 5 กรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อจัดหาครุภัณฑ์ที่เกี่ยวช้องโดยตรง ให้สนับสนุนได้ในวงเงินตามความจำเป็น และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้เป็นทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ข้อ 8 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตกลงสมทบเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพในอัตราร้อยละของเงินที่ได้รับจัดสรรจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7(1) ข้อ และข้อ 8 (2) “สมทบเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 กรณีรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่รวมเงินอุดหนุนตั้งแต่ 6 ถึง 20 ล้านบาท ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนฯ บรรลุวัตถุประสงค์ มีความเหมาะสมในการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส จึงได้จัดทำโครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการ ประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง ในการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คณะกรรมการมีแผนพัฒนาสุขภาพเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
  2. เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนและอนุกรรมการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
  3. เพื่อจัดซื้อวัดสุอุปกรณ์ครุภัณฑ์ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการกองทุนฯ
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ บุคลากร และคณะกรรมการ อนุกรรมการ สำหรับดำเนินงานและช่วยเหลืองานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ มีความรู้ และเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานด้วยความถูกต้อง บรรลุผลสัมฤทธิ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรองแผนงาน โครงการ กิจกรรม ครั้งที่ 1
  2. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรองแผนงาน โครงการ กิจกรรม ครั้งที่ 2
  3. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 1
  4. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 2
  5. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 3
  6. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  7. ประชุมการจัดทำแผนสุขภาพตำบลเชิงแส

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผานการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
    3.คณะกรรมการบริหารกองทุน และอนุกรรกมาร ได้รรับความรู้ และพัฒนาศักยาภพในการปฺบัติงาน ทำให้การดำเนินงานกองทุนมีความถูกต้องและบรรลุผลสัมฤทธิ์
    4.กองทุนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปด้วยความถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรองแผนงาน โครงการ กิจกรรม ครั้งที่ 1

วันที่ 25 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรองแผนงาน โครงการ กิจกรรม ครั้งที่ 1/2567
พิจารณาโครงการที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 8โครงการ
1.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลเชิงแส
2.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลเชิงแส
3.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส
4.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 4 ตำบลเชิงแส
5.โครงการเกษตรน้อย ปลอดสารพิษ ปลอดโรค
6.โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
7.โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเชิงแส
8.โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 8โครงการ ผ่านการพิจารณา 1.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลเชิงแส
2.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลเชิงแส
3.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส
4.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 4 ตำบลเชิงแส
5.โครงการเกษตรน้อย ปลอดสารพิษ ปลอดโรค
6.โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
7.โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเชิงแส
8.โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

0 0

2. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 1

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมที่ปรึกษา/คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแสครั้งที่ 1/2567
พิจารณาโครงการที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 8โครงการ
1.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลเชิงแส
2.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลเชิงแส
3.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส
4.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 4 ตำบลเชิงแส
5.โครงการเกษตรน้อย ปลอดสารพิษ ปลอดโรค
6.โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
7.โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเชิงแส
8.โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 8โครงการ ผ่านการพิจารณา
1.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลเชิงแส
2.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 2 ตำบลเชิงแส
3.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 3 ตำบลเชิงแส
4.โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 4 ตำบลเชิงแส
5.โครงการเกษตรน้อย ปลอดสารพิษ ปลอดโรค
6.โครงการลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
7.โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเชิงแส
8.โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

0 0

3. ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรองแผนงาน โครงการ กิจกรรม ครั้งที่ 2

วันที่ 26 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรองแผนงาน โครงการ กิจกรรม ครั้งที่ 2/2567
พิจารณาโครงการที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 5 โครงการ
๑.โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
๒.โครงการนักเรียนปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อในโรงเรียน
๓.โครงการผู้สูงวัย กายใจดี มีความสุข
๔.โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพ
๕.โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ ใส่ใจวัยรุ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 5 โครงการ ผ่านการพิจารณา
๑.โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
๒.โครงการนักเรียนปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อในโรงเรียน
๓.โครงการผู้สูงวัย กายใจดี มีความสุข
๔.โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพ
๕.โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ ใส่ใจวัยรุ่น

 

0 0

4. กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 2

วันที่ 3 เมษายน 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม ปรึกษา/คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส ครั้งที่ 2/2567
พิจารณาโครงการที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 5 โครงการ
๑.โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
๒.โครงการนักเรียนปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อในโรงเรียน
๓.โครงการผู้สูงวัย กายใจดี มีความสุข
๔.โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพ
๕.โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ ใส่ใจวัยรุ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 รอบที่2 จำนวน 5 โครงการ ผ่านการพิจารณา
๑.โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
๒.โครงการนักเรียนปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อในโรงเรียน
๓.โครงการผู้สูงวัย กายใจดี มีความสุข
๔.โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ห่วงใยสุขภาพ
๕.โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ ใส่ใจวัยรุ่น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คณะกรรมการมีแผนพัฒนาสุขภาพเป็นแนวทางในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : มีแผนพัฒนาสุขภาพตำบล / แผนงาน/โครงการ/สำหรับปีงบประมาณ 2567
0.00

 

2 เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนและอนุกรรมการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ตัวชี้วัด : โครงการที่เสนอได้รับการพิจารณาอนุมติได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง และมีการประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการและผู้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อพิจารณาและติดตามงาน
0.00

 

3 เพื่อจัดซื้อวัดสุอุปกรณ์ครุภัณฑ์ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : กองทุนมีวัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ เพียงพอในการปฏิบัติงาน
0.00

 

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ บุคลากร และคณะกรรมการ อนุกรรมการ สำหรับดำเนินงานและช่วยเหลืองานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ มีความรู้ และเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานด้วยความถูกต้อง บรรลุผลสัมฤทธิ์
ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่ บุคลากร คณะกรรมการบริหารกองทุน และอนุกรรมการ มีศักยภาพสำหรับดำเนินงานและช่วยเหลืองานกองทุน หลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ และได้รับการพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะกรรมการมีแผนพัฒนาสุขภาพเป็นแนวทางในการดำเนินงาน (2) เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนและอนุกรรมการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย (3) เพื่อจัดซื้อวัดสุอุปกรณ์ครุภัณฑ์ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการกองทุนฯ (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ บุคลากร และคณะกรรมการ อนุกรรมการ สำหรับดำเนินงานและช่วยเหลืองานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ มีความรู้ และเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานด้วยความถูกต้อง บรรลุผลสัมฤทธิ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรองแผนงาน โครงการ กิจกรรม ครั้งที่ 1 (2) ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรองแผนงาน โครงการ กิจกรรม ครั้งที่ 2 (3) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 1 (4) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 2 (5) กิจกรรมประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา ครั้งที่ 3 (6) ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (7) ประชุมการจัดทำแผนสุขภาพตำบลเชิงแส

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลเชิงแส ประจำปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 2567-L5164-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทิวา สังขบุญญา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด