กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด


“ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2566 ”

ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางปราณี คงเหมือนเพชร

ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2985-02-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L2985-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 31 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้  มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรค คือ ยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน มีการขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่ง พบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด
      พื้นที่ตำบลมะกรูด เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกจำนวนมาก และเป็นมาอย่างต่อเนื่อง จากการสอบสวนโรค ของ PCU มะกรูด ในปีงบประมาณ 2566 (เดือนตุลาคม 2565 - กรกฎาคม 2566) พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 7 ราย ส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงฤดูฝนของทุกปี สาเหตุเกิดจากการขาดความตระหนักของประชาชน มีน้ำขังในภาชนะ มีขยะบริเวณรอบบ้าน การเลี้ยงนกและไก่ ส่งผลทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย
    ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการตรียมพร้อมในการป้องกันโรคในพื้นที่ การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้เกิดความตระหนัก สำหรับการเฝ้าระวัง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อให้ได้ผลอย่างรวดเร็วนั้น ต้องตัดวงจรการติดต่อของโรคอย่างทันท่วงที จึงจำเป็นต้องมีมาตรการควบคุมที่เคร่งครัด ชัดเจน มีมาตรฐาน การเตรียมพร้อมสำหรับวัสดุทางการแพทย์ เคมีภัณฑ์ ต่างๆ ให้ทันท่วงทีและเพียงพอกับการใช้งานจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ กลุ่ม อสม. หมู่ที่ 1 ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการป้องกัน เผ้าระวังและควบคุมให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  3. 3. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  2. 2. กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก
  3. 3. กิจกรรมสุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย ( 1 เดือน/ 1 ครั้ง)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคภายในชุมชนอย่างเพียงพอ
          2. มีสื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกเพียงพอและครอบคลุมในชุมชน ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ ต่าง ๆ มากขึ้น สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดโรคได้ถูกวิธีและถูกต้องมากยิ่งขึ้น       3. ลดการระบาดของโรคไม่ให้ขยายไปในวงกว้าง
          4. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก       5. ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 สำรวจลูกน้ำยุงลาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 1.2 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย  โดยการคว่ำภาชนะ และใส่ทรายอะเบท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ลงพื้นที่สำรวจลูกน้ำยุงลาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง จำนวน 5 เดือน
  • อสม.กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุและกำจัดลูกน้ำยุงลายโดยการคว่ำภาชนะ และใส่ทรายอะเบท

 

20 0

2. 2. กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

2.1 การพ่นหมอกควัน  เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ดำเนินการพ่นหมอกควันกำจัดลูกน้ำยุงลายในกรณีที่มีการเกิดการระบาดของไข้เลือดออกในเขตพื้นที่

 

20 0

3. 3. กิจกรรมสุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย ( 1 เดือน/ 1 ครั้ง)

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • สุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย 1 เดือน/ 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อสม. สุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 เดือน

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1. มีอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 1 ราย ในหมู่ที่ 1 ตำบลมะกรูด
1.2. ร้อยละ 100 ของพื้นที่ ม.1 มีการพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก 1.3 ค่า HI เป็น 1 , ค่า CI เป็น 1 กิจกรรม : 1. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน
1.1 ดำเนินการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ทุกสัปดาห์ๆ ละ 1 ครั้ง
1.2 ดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยการคว่ำภาชนะ และใส่ทรายอะเบท
  2. กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดควบคุมโรคไข้เลือดออก     2.1 ดำเนินการพ่นหมอกควัน เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมสุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย ( 1 เดือน/ 1 ครั้ง)     3.1 ดำเนินการสุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย ( 1 เดือน/ 1 ครั้ง) จำนวน 5 ครั้ง วันที่ดำเนินกิจกรรม : 1 กันยายน 2566 – 31 มีนาคม 2567
กลุ่มเป้าหมาย ; อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน หมู่ที่ 1 และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข สถานที่ดำเนินการ : พื้นที่ ม.1 ตำบลมะกรูด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1. อัตราการป่วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

 

2 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 2. พื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้รับการควบคุมทันเวลาตามมาตรการ
100.00

 

3 3. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 3. ค่า HI เป็น 0 , ค่า CI เป็น 0
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) 3. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย  และกำจัดลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) 2.  กิจกรรมเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออก (3) 3. กิจกรรมสุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย ( 1 เดือน/ 1 ครั้ง)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 ตำบลมะกรูด ประจำปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2985-02-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปราณี คงเหมือนเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด