โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ”
ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลสันป่าม่วง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสันป่าม่วง
กรกฎาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง
ที่อยู่ ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จังหวัด พะเยา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กรกฎาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง จังหวัดพะเยา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสันป่าม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติดและเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่คนในชุมชน (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
กิจกรรมตามโครงการ การส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ในครั้งนี้จัดขึ้นให้สอดคล้องกับ ปัญหายาเสพติดที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบันกับสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก " ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม " ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชนและในสังคม กิจกรรมประกอบด้วย
1. กิจกรรมการลงทะเบียนเข้ารับการอบรม ตามโครงการการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ประจำปีงบประมาณ 2566
2. กิจกรรมการเปิดโครงการ การส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง
นายสมชาย จินะ นายกเทศมนตรี ตำบลสันป่าม่วง ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลสันป่าม่วงร่วมเป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรมและกล่าวถึงปัญหาเรื่องสุขภาพและปัญหาของยาเสพติดในปัจจุบัน
3. กิจกรรมการบรรยาย
3.1 ประเภทของยาเสพติด
1. ออกฤทธิ์กดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟิ่น เฮโรอีน เซโคบาร์ทิบาท (บาร์บิทูเรต) เหล้าแห้ง หรือโซโคบาล ทำให้ประสาทมึนชา สมอง อารมณ์ จิตใจ เฉื่อยชา
2. ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน กระท่อม โคเคน พวกยาม้า ยาขยัน กระตุ้นเร่งประสาททำให้เกิดนิ่ว ตื่นตัว กระวนกระวาย ประสาทไหวตัวอยู่เสมอ
3. ออกฤทธิ์หลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ทำให้เกิดประสาทหลอนเห็นภาพผิดไปจากปกติ
ออกฤทธิ์ผสมผสานกัน ทั้งกดประสาท กระตุ้นประสาท และหลอนประสาท เช่น กัญชา
3.2 อาการ
1. เด็กที่ติดยาเสพติดมีลักษณะอาการที่สังเกตเห็นได้หลายชนิด ทั้งทางด้านร่างกายและพฤติกรรมแสดงออกดังนี้
2. หน้าตาเฉยเมยแบบคนที่มีความทุกข์
3. ผอมซีด สุขภาพทรุดโทรม
4. ความประพฤติเปลี่ยนไป ละเลยกิจวัตรประจำวัน ระเบียบวินัยลดหย่อน
5. กลายเป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิด ฉุนเฉียว ผิดปกติ โมโหง่า ย
6. มีลับลมคมใน ชอบแยกตัวอยู่คนเดียวเงียบๆ
7. เบื่อหน่ายการงานและการเรียน ไม่มีแรง อ่อนเพลีย
8. มักมียา อุปกรณ์แปลกๆเก็บไว้ในห้องส่วนตัว
9. อาจมีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด เช่น กระดาษ ตะกั่ว หลอดกาแฟ ไม้ขีด หลอดฉีดยา เป็นต้น
10. ใช้เงินเปลืองผิดปกติ มีหนี้สิน บางครั้งขโมย
11. สวมแว่นกันแดดตลอดเวลา เพื่อซ่อนแก้วตาที่วาว เบิกกว้างหรือริบหรี่
12. ใส่เสื้อแขนยาวตลอดเวลา เพื่อปกปิดรอยเข็มที่ฉีดยา
13. มักชอบอยู่ในห้องเก็บของ ซ่อนตัวอยู่ในห้อง อยู่หลังส้วมเพื่อแอบสูบบุหรี่ เสพยา
14. ถ้าอยู่ในห้องเรียน เด็กจะเกียจคร้าน ง่วงหงาวหาวนอน ตาหรี่ เพราะสู้แสงไม่ได้ เรียนหนังสือไม่รู้เรื่อง
สาเหตุของการติดยาเสพติด
1.ทางด้านร่างกาย
1. การจัดหาหรือซื้อสารเสพติดด้วยตนเองเนื่องจากมีอาการเจ็บปวดทางร่างกาย
2. พวกรักษาตนเอง เช่นประสบอุบัติเหตุแพทย์ให้ยาระงับปวดอยู่ชั่วขณะหนึ่ง ภายหลังได้ใช้ยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์เพื่อช่วยตนเอง เลยทำให้ติดยาโดยไม่ตั้งใจ
2.ทางด้านจิตใจ
1. พวกบุคลิกภาพผิดปกติ เช่น ต่อต้านสังคม ก้าวร้าว ชอบพึ่งพาผู้อื่น แยกตัวเองหรือซึมเศร้า
2. พวกที่มีความกังวลใจ หวาดกลัว หรือป่วยเป็นโรคประสาทหรือโรคจิตมีอาการนอนไม่หลับ มักใช้ยาเสพติดระงับความรู้สึกจึงทำให้ติดได้
3. สภาพครอบครัวแตกแยก พ่อแม่ไม่เข้าใจกัน เด็กขาดความอบอุ่น หรืออบรมเลี้ยงดูลูก ไม่ถูกต้อง หรือมีคนในครอบครัวติดสารเสพติด
3.ทางด้านสังคม
1. ถูกเพื่อนชวน อยากลอง
2. อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ใกล้ชิดกับพวกติดสารเสพติด
3. ความกดดันทางสังคม เช่น มีปัญหาทางเศรษฐกิจ ไม่มีงานทำ
โทษของการติดยาเสพติด
1. โทษต่อร่างกายและจิตใจ
1. ทำลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานั้นๆ
2. เสียบุคลิกภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสติสัมปชัญญะ
3. ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย
4. พิษยาทำลายอวัยวะต่างๆให้เสื่อมลง มีโรคแทรกได้ง่าย
5. ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง
2. โทษต่อครอบครัว
1. ขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัวและญาติพี่น้อง
2. เสียทรัพย์ที่จะต้องซื้อยามาเสพ และรักษาตัว
3. ขาดหลักประกันของครอบครัว ทำงานไม่ได้ ไม่เป็นที่วางใจ ของคนทั่วไป นำภัยมาสู่บุตร ภรรยา ญาติพี่น้อง
3. โทษต่อสังคม
1. เป็นภัยต่อสังคม
2. มีโอกาสเป็นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเนื่องจากมีรายจ่ายสูง
โดย วิทยากร ร.ต.ต พรสัณน์ วิรัตน์เกษม
ตำแหน่ง รอง สว.(ป)ฯ สภ.เมืองพะเยา
4. กิจกรรมการให้ความรู้และ วิธีการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
1. การแก้ไขเด็กติดยาเสพติด ต้องการกำลังใจจาก ผู้ปกครองและครูเป็นอย่างมาก ฉะนั้น ผู้ปกครองและครูจึงมีส่วนสำคัญในการช่วยเด็กของตนให้หายจากการติดยาเสพติดซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้
2. สร้างบรรยากาศในครอบครัวให้มีความสุข พ่อแม่ควรปรองดองกัน จะทำให้เด็ก มีความมั่นคงทางจิตใจ รู้สึกอบอุ่น
3. พ่อแม่และครูต้องให้ความเป็นกันเองกับเด็ก จะทำให้เด็กแน่ใจว่าผู้ใหญ่พยายาม ที่จะเข้าใจเขาพร้อมที่จะช่วยเหลือเขาเด็กจะรู้สึกเป็นกันเองที่จะพูดคุยถึงปัญหา ของตนโดยไม่มีการซ่อนเร้นและควรพูดจาซักถามสาเหตุ เวลาที่เสพติดนานแค่ไหน อย่าประนามดุด่าเด็กและควรหาทางช่วยเหลืออย่างรีบด่วน
4. อธิบายให้เด็กเข้าใจและรู้โทษตามกฎหมายที่จะได้รับจากการใช้ยาเสพติด
5. ให้เด็กได้รู้โทษของยาเสพติด
6. ร่วมมือกับครูประจำชั้นเพื่อหาทางแก้ไข เช่นจัดกลุ่มอภิปรายกับเด็กนักเรียน ถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด ครูที่สนใจปัญหาต่างๆเหล่านี้และรับฟังเด็กด้วยท่าทีที่เห็นใจ จะช่วยเด็กได้อย่างมาก
7. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างพลังใจ อารมณ์ ความนึกคิดไปในทางที่มีความหมาย เช่น ชมรมกีฬา ชมรมดนตรี
8. พาเด็กไปพบแพทย์ตามสถานที่รับรักษาผู้ติดยาเสพติด หรือสถานที่บางแห่งรักษาด้วยสมุนไพรเช่น ที่ถ้ำกระบอก จังหวัดสระบุรี
9. ควรแยกเด็กจากสิ่งแวดล้อมเดิมหรือให้ห่างจากเพื่อนที่ติดยาเสพติดด้วยกัน เพื่อป้องกันไม่ให้กลับไปเสพอีก
10. อธิบายให้เด็กเข้าใจว่าการเลิกยาเสพติดนั้นอยู่ที่การตัดสินใจของเขาเอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขาเอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขาเอง การที่เขาเลิกยาเสพติดได้จะทำให้อนาคตของเขาดีขึ้น
การติดยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน มักจะเนื่องมาจากครอบครัว ไม่เป็นสุขมีความขัดแย้ง หรือปล่อยปละละเลยจนถูกชักจูงไปเสพได้ง่าย หรือใช้ยาเสพติดเป็นทางออกของชีวิต การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น ในครอบครัว การให้ความรักความเข้าใจ แก่เด็กและเยาวชนบุตรหลานของท่าน อย่างมีเหตุผลที่ถูกต้องเหมาะสมก็จะเป็นการป้องกันปัญหาการติดยาเสพติดได้
โดย วิทยากร ร.ต.ต พรสัณน์ วิรัตน์เกษม
ตำแหน่ง รอง สว.(ป)ฯ สภ.เมืองพะเยา
5. ปิดกิจกรรมการรณรงค์และป้องกันปัญหายาเสพติดในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก " ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม " ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชนและในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่ามีเด็ก เยาวชน และประชาชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะทำให้คนกลุ่มนี้ โดยเฉพาะ เด็ก เยาวชนและประชาชนวัยทำงาน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลสันป่าม่วงเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม จึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติดไม่ให้เกิดขึ้นในชุมชน โดยการให้ความรู้เรื่อง ยาเสพติดและส่งเสริมป้องกัน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็ก เยาวชน ประชาชน
จากความสำคัญที่กล่าวมา ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลสันป่าม่วงได้เล็งเห็นปัญหายา เสพติด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วงขึ้น เพื่อเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ และเกิดการตระหนักถึงปัญหายาเสพติดที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติดและเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่คนในชุมชน
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
131
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติด
- ประชาชนตำบลสันป่าม่วงมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติดและเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่คนในชุมชน
ตัวชี้วัด : แบบทดสอบก่อน-หลังการฝึกอบรม ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกิน ร้อยละ 80 ขึ้นไป
90.00
2
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : มีกลุ่มประชาชนที่มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่
131.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
131
131
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
131
131
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติดและเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่คนในชุมชน (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
กิจกรรมตามโครงการ การส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ในครั้งนี้จัดขึ้นให้สอดคล้องกับ ปัญหายาเสพติดที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบันกับสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก " ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม " ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชนและในสังคม กิจกรรมประกอบด้วย
1. กิจกรรมการลงทะเบียนเข้ารับการอบรม ตามโครงการการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ประจำปีงบประมาณ 2566
2. กิจกรรมการเปิดโครงการ การส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง
นายสมชาย จินะ นายกเทศมนตรี ตำบลสันป่าม่วง ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลสันป่าม่วงร่วมเป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรมและกล่าวถึงปัญหาเรื่องสุขภาพและปัญหาของยาเสพติดในปัจจุบัน
3. กิจกรรมการบรรยาย
3.1 ประเภทของยาเสพติด
1. ออกฤทธิ์กดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟิ่น เฮโรอีน เซโคบาร์ทิบาท (บาร์บิทูเรต) เหล้าแห้ง หรือโซโคบาล ทำให้ประสาทมึนชา สมอง อารมณ์ จิตใจ เฉื่อยชา
2. ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน กระท่อม โคเคน พวกยาม้า ยาขยัน กระตุ้นเร่งประสาททำให้เกิดนิ่ว ตื่นตัว กระวนกระวาย ประสาทไหวตัวอยู่เสมอ
3. ออกฤทธิ์หลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ทำให้เกิดประสาทหลอนเห็นภาพผิดไปจากปกติ
ออกฤทธิ์ผสมผสานกัน ทั้งกดประสาท กระตุ้นประสาท และหลอนประสาท เช่น กัญชา
3.2 อาการ
1. เด็กที่ติดยาเสพติดมีลักษณะอาการที่สังเกตเห็นได้หลายชนิด ทั้งทางด้านร่างกายและพฤติกรรมแสดงออกดังนี้
2. หน้าตาเฉยเมยแบบคนที่มีความทุกข์
3. ผอมซีด สุขภาพทรุดโทรม
4. ความประพฤติเปลี่ยนไป ละเลยกิจวัตรประจำวัน ระเบียบวินัยลดหย่อน
5. กลายเป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิด ฉุนเฉียว ผิดปกติ โมโหง่า ย
6. มีลับลมคมใน ชอบแยกตัวอยู่คนเดียวเงียบๆ
7. เบื่อหน่ายการงานและการเรียน ไม่มีแรง อ่อนเพลีย
8. มักมียา อุปกรณ์แปลกๆเก็บไว้ในห้องส่วนตัว
9. อาจมีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด เช่น กระดาษ ตะกั่ว หลอดกาแฟ ไม้ขีด หลอดฉีดยา เป็นต้น
10. ใช้เงินเปลืองผิดปกติ มีหนี้สิน บางครั้งขโมย
11. สวมแว่นกันแดดตลอดเวลา เพื่อซ่อนแก้วตาที่วาว เบิกกว้างหรือริบหรี่
12. ใส่เสื้อแขนยาวตลอดเวลา เพื่อปกปิดรอยเข็มที่ฉีดยา
13. มักชอบอยู่ในห้องเก็บของ ซ่อนตัวอยู่ในห้อง อยู่หลังส้วมเพื่อแอบสูบบุหรี่ เสพยา
14. ถ้าอยู่ในห้องเรียน เด็กจะเกียจคร้าน ง่วงหงาวหาวนอน ตาหรี่ เพราะสู้แสงไม่ได้ เรียนหนังสือไม่รู้เรื่อง
สาเหตุของการติดยาเสพติด
1.ทางด้านร่างกาย
1. การจัดหาหรือซื้อสารเสพติดด้วยตนเองเนื่องจากมีอาการเจ็บปวดทางร่างกาย
2. พวกรักษาตนเอง เช่นประสบอุบัติเหตุแพทย์ให้ยาระงับปวดอยู่ชั่วขณะหนึ่ง ภายหลังได้ใช้ยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์เพื่อช่วยตนเอง เลยทำให้ติดยาโดยไม่ตั้งใจ
2.ทางด้านจิตใจ
1. พวกบุคลิกภาพผิดปกติ เช่น ต่อต้านสังคม ก้าวร้าว ชอบพึ่งพาผู้อื่น แยกตัวเองหรือซึมเศร้า
2. พวกที่มีความกังวลใจ หวาดกลัว หรือป่วยเป็นโรคประสาทหรือโรคจิตมีอาการนอนไม่หลับ มักใช้ยาเสพติดระงับความรู้สึกจึงทำให้ติดได้
3. สภาพครอบครัวแตกแยก พ่อแม่ไม่เข้าใจกัน เด็กขาดความอบอุ่น หรืออบรมเลี้ยงดูลูก ไม่ถูกต้อง หรือมีคนในครอบครัวติดสารเสพติด
3.ทางด้านสังคม
1. ถูกเพื่อนชวน อยากลอง
2. อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ใกล้ชิดกับพวกติดสารเสพติด
3. ความกดดันทางสังคม เช่น มีปัญหาทางเศรษฐกิจ ไม่มีงานทำ
โทษของการติดยาเสพติด
1. โทษต่อร่างกายและจิตใจ
1. ทำลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานั้นๆ
2. เสียบุคลิกภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสติสัมปชัญญะ
3. ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย
4. พิษยาทำลายอวัยวะต่างๆให้เสื่อมลง มีโรคแทรกได้ง่าย
5. ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง
2. โทษต่อครอบครัว
1. ขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัวและญาติพี่น้อง
2. เสียทรัพย์ที่จะต้องซื้อยามาเสพ และรักษาตัว
3. ขาดหลักประกันของครอบครัว ทำงานไม่ได้ ไม่เป็นที่วางใจ ของคนทั่วไป นำภัยมาสู่บุตร ภรรยา ญาติพี่น้อง
3. โทษต่อสังคม
1. เป็นภัยต่อสังคม
2. มีโอกาสเป็นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเนื่องจากมีรายจ่ายสูง
โดย วิทยากร ร.ต.ต พรสัณน์ วิรัตน์เกษม
ตำแหน่ง รอง สว.(ป)ฯ สภ.เมืองพะเยา
4. กิจกรรมการให้ความรู้และ วิธีการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
1. การแก้ไขเด็กติดยาเสพติด ต้องการกำลังใจจาก ผู้ปกครองและครูเป็นอย่างมาก ฉะนั้น ผู้ปกครองและครูจึงมีส่วนสำคัญในการช่วยเด็กของตนให้หายจากการติดยาเสพติดซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้
2. สร้างบรรยากาศในครอบครัวให้มีความสุข พ่อแม่ควรปรองดองกัน จะทำให้เด็ก มีความมั่นคงทางจิตใจ รู้สึกอบอุ่น
3. พ่อแม่และครูต้องให้ความเป็นกันเองกับเด็ก จะทำให้เด็กแน่ใจว่าผู้ใหญ่พยายาม ที่จะเข้าใจเขาพร้อมที่จะช่วยเหลือเขาเด็กจะรู้สึกเป็นกันเองที่จะพูดคุยถึงปัญหา ของตนโดยไม่มีการซ่อนเร้นและควรพูดจาซักถามสาเหตุ เวลาที่เสพติดนานแค่ไหน อย่าประนามดุด่าเด็กและควรหาทางช่วยเหลืออย่างรีบด่วน
4. อธิบายให้เด็กเข้าใจและรู้โทษตามกฎหมายที่จะได้รับจากการใช้ยาเสพติด
5. ให้เด็กได้รู้โทษของยาเสพติด
6. ร่วมมือกับครูประจำชั้นเพื่อหาทางแก้ไข เช่นจัดกลุ่มอภิปรายกับเด็กนักเรียน ถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด ครูที่สนใจปัญหาต่างๆเหล่านี้และรับฟังเด็กด้วยท่าทีที่เห็นใจ จะช่วยเด็กได้อย่างมาก
7. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างพลังใจ อารมณ์ ความนึกคิดไปในทางที่มีความหมาย เช่น ชมรมกีฬา ชมรมดนตรี
8. พาเด็กไปพบแพทย์ตามสถานที่รับรักษาผู้ติดยาเสพติด หรือสถานที่บางแห่งรักษาด้วยสมุนไพรเช่น ที่ถ้ำกระบอก จังหวัดสระบุรี
9. ควรแยกเด็กจากสิ่งแวดล้อมเดิมหรือให้ห่างจากเพื่อนที่ติดยาเสพติดด้วยกัน เพื่อป้องกันไม่ให้กลับไปเสพอีก
10. อธิบายให้เด็กเข้าใจว่าการเลิกยาเสพติดนั้นอยู่ที่การตัดสินใจของเขาเอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขาเอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขาเอง การที่เขาเลิกยาเสพติดได้จะทำให้อนาคตของเขาดีขึ้น
การติดยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน มักจะเนื่องมาจากครอบครัว ไม่เป็นสุขมีความขัดแย้ง หรือปล่อยปละละเลยจนถูกชักจูงไปเสพได้ง่าย หรือใช้ยาเสพติดเป็นทางออกของชีวิต การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น ในครอบครัว การให้ความรักความเข้าใจ แก่เด็กและเยาวชนบุตรหลานของท่าน อย่างมีเหตุผลที่ถูกต้องเหมาะสมก็จะเป็นการป้องกันปัญหาการติดยาเสพติดได้
โดย วิทยากร ร.ต.ต พรสัณน์ วิรัตน์เกษม
ตำแหน่ง รอง สว.(ป)ฯ สภ.เมืองพะเยา
5. ปิดกิจกรรมการรณรงค์และป้องกันปัญหายาเสพติดในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง จังหวัด พะเยา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลสันป่าม่วง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ”
ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลสันป่าม่วง
กรกฎาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จังหวัด พะเยา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กรกฎาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง จังหวัดพะเยา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสันป่าม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติดและเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่คนในชุมชน (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
กิจกรรมตามโครงการ การส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ในครั้งนี้จัดขึ้นให้สอดคล้องกับ ปัญหายาเสพติดที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบันกับสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก " ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม " ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชนและในสังคม กิจกรรมประกอบด้วย
1. กิจกรรมการลงทะเบียนเข้ารับการอบรม ตามโครงการการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ประจำปีงบประมาณ 2566
2. กิจกรรมการเปิดโครงการ การส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง
นายสมชาย จินะ นายกเทศมนตรี ตำบลสันป่าม่วง ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลสันป่าม่วงร่วมเป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรมและกล่าวถึงปัญหาเรื่องสุขภาพและปัญหาของยาเสพติดในปัจจุบัน
3. กิจกรรมการบรรยาย
3.1 ประเภทของยาเสพติด
1. ออกฤทธิ์กดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟิ่น เฮโรอีน เซโคบาร์ทิบาท (บาร์บิทูเรต) เหล้าแห้ง หรือโซโคบาล ทำให้ประสาทมึนชา สมอง อารมณ์ จิตใจ เฉื่อยชา
2. ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน กระท่อม โคเคน พวกยาม้า ยาขยัน กระตุ้นเร่งประสาททำให้เกิดนิ่ว ตื่นตัว กระวนกระวาย ประสาทไหวตัวอยู่เสมอ
3. ออกฤทธิ์หลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ทำให้เกิดประสาทหลอนเห็นภาพผิดไปจากปกติ
ออกฤทธิ์ผสมผสานกัน ทั้งกดประสาท กระตุ้นประสาท และหลอนประสาท เช่น กัญชา
3.2 อาการ
1. เด็กที่ติดยาเสพติดมีลักษณะอาการที่สังเกตเห็นได้หลายชนิด ทั้งทางด้านร่างกายและพฤติกรรมแสดงออกดังนี้
2. หน้าตาเฉยเมยแบบคนที่มีความทุกข์
3. ผอมซีด สุขภาพทรุดโทรม
4. ความประพฤติเปลี่ยนไป ละเลยกิจวัตรประจำวัน ระเบียบวินัยลดหย่อน
5. กลายเป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิด ฉุนเฉียว ผิดปกติ โมโหง่า ย
6. มีลับลมคมใน ชอบแยกตัวอยู่คนเดียวเงียบๆ
7. เบื่อหน่ายการงานและการเรียน ไม่มีแรง อ่อนเพลีย
8. มักมียา อุปกรณ์แปลกๆเก็บไว้ในห้องส่วนตัว
9. อาจมีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด เช่น กระดาษ ตะกั่ว หลอดกาแฟ ไม้ขีด หลอดฉีดยา เป็นต้น
10. ใช้เงินเปลืองผิดปกติ มีหนี้สิน บางครั้งขโมย
11. สวมแว่นกันแดดตลอดเวลา เพื่อซ่อนแก้วตาที่วาว เบิกกว้างหรือริบหรี่
12. ใส่เสื้อแขนยาวตลอดเวลา เพื่อปกปิดรอยเข็มที่ฉีดยา
13. มักชอบอยู่ในห้องเก็บของ ซ่อนตัวอยู่ในห้อง อยู่หลังส้วมเพื่อแอบสูบบุหรี่ เสพยา
14. ถ้าอยู่ในห้องเรียน เด็กจะเกียจคร้าน ง่วงหงาวหาวนอน ตาหรี่ เพราะสู้แสงไม่ได้ เรียนหนังสือไม่รู้เรื่อง
สาเหตุของการติดยาเสพติด
1.ทางด้านร่างกาย
1. การจัดหาหรือซื้อสารเสพติดด้วยตนเองเนื่องจากมีอาการเจ็บปวดทางร่างกาย
2. พวกรักษาตนเอง เช่นประสบอุบัติเหตุแพทย์ให้ยาระงับปวดอยู่ชั่วขณะหนึ่ง ภายหลังได้ใช้ยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์เพื่อช่วยตนเอง เลยทำให้ติดยาโดยไม่ตั้งใจ
2.ทางด้านจิตใจ
1. พวกบุคลิกภาพผิดปกติ เช่น ต่อต้านสังคม ก้าวร้าว ชอบพึ่งพาผู้อื่น แยกตัวเองหรือซึมเศร้า
2. พวกที่มีความกังวลใจ หวาดกลัว หรือป่วยเป็นโรคประสาทหรือโรคจิตมีอาการนอนไม่หลับ มักใช้ยาเสพติดระงับความรู้สึกจึงทำให้ติดได้
3. สภาพครอบครัวแตกแยก พ่อแม่ไม่เข้าใจกัน เด็กขาดความอบอุ่น หรืออบรมเลี้ยงดูลูก ไม่ถูกต้อง หรือมีคนในครอบครัวติดสารเสพติด
3.ทางด้านสังคม
1. ถูกเพื่อนชวน อยากลอง
2. อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ใกล้ชิดกับพวกติดสารเสพติด
3. ความกดดันทางสังคม เช่น มีปัญหาทางเศรษฐกิจ ไม่มีงานทำ
โทษของการติดยาเสพติด
1. โทษต่อร่างกายและจิตใจ
1. ทำลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานั้นๆ
2. เสียบุคลิกภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสติสัมปชัญญะ
3. ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย
4. พิษยาทำลายอวัยวะต่างๆให้เสื่อมลง มีโรคแทรกได้ง่าย
5. ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง
2. โทษต่อครอบครัว
1. ขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัวและญาติพี่น้อง
2. เสียทรัพย์ที่จะต้องซื้อยามาเสพ และรักษาตัว
3. ขาดหลักประกันของครอบครัว ทำงานไม่ได้ ไม่เป็นที่วางใจ ของคนทั่วไป นำภัยมาสู่บุตร ภรรยา ญาติพี่น้อง
3. โทษต่อสังคม
1. เป็นภัยต่อสังคม
2. มีโอกาสเป็นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเนื่องจากมีรายจ่ายสูง
โดย วิทยากร ร.ต.ต พรสัณน์ วิรัตน์เกษม
ตำแหน่ง รอง สว.(ป)ฯ สภ.เมืองพะเยา
4. กิจกรรมการให้ความรู้และ วิธีการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
1. การแก้ไขเด็กติดยาเสพติด ต้องการกำลังใจจาก ผู้ปกครองและครูเป็นอย่างมาก ฉะนั้น ผู้ปกครองและครูจึงมีส่วนสำคัญในการช่วยเด็กของตนให้หายจากการติดยาเสพติดซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้
2. สร้างบรรยากาศในครอบครัวให้มีความสุข พ่อแม่ควรปรองดองกัน จะทำให้เด็ก มีความมั่นคงทางจิตใจ รู้สึกอบอุ่น
3. พ่อแม่และครูต้องให้ความเป็นกันเองกับเด็ก จะทำให้เด็กแน่ใจว่าผู้ใหญ่พยายาม ที่จะเข้าใจเขาพร้อมที่จะช่วยเหลือเขาเด็กจะรู้สึกเป็นกันเองที่จะพูดคุยถึงปัญหา ของตนโดยไม่มีการซ่อนเร้นและควรพูดจาซักถามสาเหตุ เวลาที่เสพติดนานแค่ไหน อย่าประนามดุด่าเด็กและควรหาทางช่วยเหลืออย่างรีบด่วน
4. อธิบายให้เด็กเข้าใจและรู้โทษตามกฎหมายที่จะได้รับจากการใช้ยาเสพติด
5. ให้เด็กได้รู้โทษของยาเสพติด
6. ร่วมมือกับครูประจำชั้นเพื่อหาทางแก้ไข เช่นจัดกลุ่มอภิปรายกับเด็กนักเรียน ถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด ครูที่สนใจปัญหาต่างๆเหล่านี้และรับฟังเด็กด้วยท่าทีที่เห็นใจ จะช่วยเด็กได้อย่างมาก
7. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างพลังใจ อารมณ์ ความนึกคิดไปในทางที่มีความหมาย เช่น ชมรมกีฬา ชมรมดนตรี
8. พาเด็กไปพบแพทย์ตามสถานที่รับรักษาผู้ติดยาเสพติด หรือสถานที่บางแห่งรักษาด้วยสมุนไพรเช่น ที่ถ้ำกระบอก จังหวัดสระบุรี
9. ควรแยกเด็กจากสิ่งแวดล้อมเดิมหรือให้ห่างจากเพื่อนที่ติดยาเสพติดด้วยกัน เพื่อป้องกันไม่ให้กลับไปเสพอีก
10. อธิบายให้เด็กเข้าใจว่าการเลิกยาเสพติดนั้นอยู่ที่การตัดสินใจของเขาเอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขาเอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขาเอง การที่เขาเลิกยาเสพติดได้จะทำให้อนาคตของเขาดีขึ้น
การติดยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน มักจะเนื่องมาจากครอบครัว ไม่เป็นสุขมีความขัดแย้ง หรือปล่อยปละละเลยจนถูกชักจูงไปเสพได้ง่าย หรือใช้ยาเสพติดเป็นทางออกของชีวิต การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น ในครอบครัว การให้ความรักความเข้าใจ แก่เด็กและเยาวชนบุตรหลานของท่าน อย่างมีเหตุผลที่ถูกต้องเหมาะสมก็จะเป็นการป้องกันปัญหาการติดยาเสพติดได้
โดย วิทยากร ร.ต.ต พรสัณน์ วิรัตน์เกษม
ตำแหน่ง รอง สว.(ป)ฯ สภ.เมืองพะเยา
5. ปิดกิจกรรมการรณรงค์และป้องกันปัญหายาเสพติดในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก " ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม " ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชนและในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่ามีเด็ก เยาวชน และประชาชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะทำให้คนกลุ่มนี้ โดยเฉพาะ เด็ก เยาวชนและประชาชนวัยทำงาน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลสันป่าม่วงเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม จึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติดไม่ให้เกิดขึ้นในชุมชน โดยการให้ความรู้เรื่อง ยาเสพติดและส่งเสริมป้องกัน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็ก เยาวชน ประชาชน จากความสำคัญที่กล่าวมา ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลสันป่าม่วงได้เล็งเห็นปัญหายา เสพติด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วงขึ้น เพื่อเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ และเกิดการตระหนักถึงปัญหายาเสพติดที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติดและเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่คนในชุมชน
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 131 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติด
- ประชาชนตำบลสันป่าม่วงมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติดและเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่คนในชุมชน ตัวชี้วัด : แบบทดสอบก่อน-หลังการฝึกอบรม ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกิน ร้อยละ 80 ขึ้นไป |
90.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด ตัวชี้วัด : มีกลุ่มประชาชนที่มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่ |
131.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 131 | 131 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 131 | 131 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจถึงปัญหายาเสพติดและเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดีให้แก่คนในชุมชน (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
กิจกรรมตามโครงการ การส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ในครั้งนี้จัดขึ้นให้สอดคล้องกับ ปัญหายาเสพติดที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบันกับสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก " ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม " ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชนและในสังคม กิจกรรมประกอบด้วย
1. กิจกรรมการลงทะเบียนเข้ารับการอบรม ตามโครงการการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง ประจำปีงบประมาณ 2566
2. กิจกรรมการเปิดโครงการ การส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง
นายสมชาย จินะ นายกเทศมนตรี ตำบลสันป่าม่วง ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลสันป่าม่วงร่วมเป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรมและกล่าวถึงปัญหาเรื่องสุขภาพและปัญหาของยาเสพติดในปัจจุบัน
3. กิจกรรมการบรรยาย
3.1 ประเภทของยาเสพติด
1. ออกฤทธิ์กดประสาท เช่น ฝิ่น มอร์ฟิ่น เฮโรอีน เซโคบาร์ทิบาท (บาร์บิทูเรต) เหล้าแห้ง หรือโซโคบาล ทำให้ประสาทมึนชา สมอง อารมณ์ จิตใจ เฉื่อยชา
2. ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท เช่น แอมเฟตามีน กระท่อม โคเคน พวกยาม้า ยาขยัน กระตุ้นเร่งประสาททำให้เกิดนิ่ว ตื่นตัว กระวนกระวาย ประสาทไหวตัวอยู่เสมอ
3. ออกฤทธิ์หลอนประสาท เช่น แอลเอสดี ทำให้เกิดประสาทหลอนเห็นภาพผิดไปจากปกติ
ออกฤทธิ์ผสมผสานกัน ทั้งกดประสาท กระตุ้นประสาท และหลอนประสาท เช่น กัญชา
3.2 อาการ
1. เด็กที่ติดยาเสพติดมีลักษณะอาการที่สังเกตเห็นได้หลายชนิด ทั้งทางด้านร่างกายและพฤติกรรมแสดงออกดังนี้
2. หน้าตาเฉยเมยแบบคนที่มีความทุกข์
3. ผอมซีด สุขภาพทรุดโทรม
4. ความประพฤติเปลี่ยนไป ละเลยกิจวัตรประจำวัน ระเบียบวินัยลดหย่อน
5. กลายเป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิด ฉุนเฉียว ผิดปกติ โมโหง่า ย
6. มีลับลมคมใน ชอบแยกตัวอยู่คนเดียวเงียบๆ
7. เบื่อหน่ายการงานและการเรียน ไม่มีแรง อ่อนเพลีย
8. มักมียา อุปกรณ์แปลกๆเก็บไว้ในห้องส่วนตัว
9. อาจมีอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด เช่น กระดาษ ตะกั่ว หลอดกาแฟ ไม้ขีด หลอดฉีดยา เป็นต้น
10. ใช้เงินเปลืองผิดปกติ มีหนี้สิน บางครั้งขโมย
11. สวมแว่นกันแดดตลอดเวลา เพื่อซ่อนแก้วตาที่วาว เบิกกว้างหรือริบหรี่
12. ใส่เสื้อแขนยาวตลอดเวลา เพื่อปกปิดรอยเข็มที่ฉีดยา
13. มักชอบอยู่ในห้องเก็บของ ซ่อนตัวอยู่ในห้อง อยู่หลังส้วมเพื่อแอบสูบบุหรี่ เสพยา
14. ถ้าอยู่ในห้องเรียน เด็กจะเกียจคร้าน ง่วงหงาวหาวนอน ตาหรี่ เพราะสู้แสงไม่ได้ เรียนหนังสือไม่รู้เรื่อง
สาเหตุของการติดยาเสพติด
1.ทางด้านร่างกาย
1. การจัดหาหรือซื้อสารเสพติดด้วยตนเองเนื่องจากมีอาการเจ็บปวดทางร่างกาย
2. พวกรักษาตนเอง เช่นประสบอุบัติเหตุแพทย์ให้ยาระงับปวดอยู่ชั่วขณะหนึ่ง ภายหลังได้ใช้ยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์เพื่อช่วยตนเอง เลยทำให้ติดยาโดยไม่ตั้งใจ
2.ทางด้านจิตใจ
1. พวกบุคลิกภาพผิดปกติ เช่น ต่อต้านสังคม ก้าวร้าว ชอบพึ่งพาผู้อื่น แยกตัวเองหรือซึมเศร้า
2. พวกที่มีความกังวลใจ หวาดกลัว หรือป่วยเป็นโรคประสาทหรือโรคจิตมีอาการนอนไม่หลับ มักใช้ยาเสพติดระงับความรู้สึกจึงทำให้ติดได้
3. สภาพครอบครัวแตกแยก พ่อแม่ไม่เข้าใจกัน เด็กขาดความอบอุ่น หรืออบรมเลี้ยงดูลูก ไม่ถูกต้อง หรือมีคนในครอบครัวติดสารเสพติด
3.ทางด้านสังคม
1. ถูกเพื่อนชวน อยากลอง
2. อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ใกล้ชิดกับพวกติดสารเสพติด
3. ความกดดันทางสังคม เช่น มีปัญหาทางเศรษฐกิจ ไม่มีงานทำ
โทษของการติดยาเสพติด
1. โทษต่อร่างกายและจิตใจ
1. ทำลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานั้นๆ
2. เสียบุคลิกภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสติสัมปชัญญะ
3. ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย
4. พิษยาทำลายอวัยวะต่างๆให้เสื่อมลง มีโรคแทรกได้ง่าย
5. ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง
2. โทษต่อครอบครัว
1. ขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัวและญาติพี่น้อง
2. เสียทรัพย์ที่จะต้องซื้อยามาเสพ และรักษาตัว
3. ขาดหลักประกันของครอบครัว ทำงานไม่ได้ ไม่เป็นที่วางใจ ของคนทั่วไป นำภัยมาสู่บุตร ภรรยา ญาติพี่น้อง
3. โทษต่อสังคม
1. เป็นภัยต่อสังคม
2. มีโอกาสเป็นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเนื่องจากมีรายจ่ายสูง
โดย วิทยากร ร.ต.ต พรสัณน์ วิรัตน์เกษม
ตำแหน่ง รอง สว.(ป)ฯ สภ.เมืองพะเยา
4. กิจกรรมการให้ความรู้และ วิธีการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
1. การแก้ไขเด็กติดยาเสพติด ต้องการกำลังใจจาก ผู้ปกครองและครูเป็นอย่างมาก ฉะนั้น ผู้ปกครองและครูจึงมีส่วนสำคัญในการช่วยเด็กของตนให้หายจากการติดยาเสพติดซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้
2. สร้างบรรยากาศในครอบครัวให้มีความสุข พ่อแม่ควรปรองดองกัน จะทำให้เด็ก มีความมั่นคงทางจิตใจ รู้สึกอบอุ่น
3. พ่อแม่และครูต้องให้ความเป็นกันเองกับเด็ก จะทำให้เด็กแน่ใจว่าผู้ใหญ่พยายาม ที่จะเข้าใจเขาพร้อมที่จะช่วยเหลือเขาเด็กจะรู้สึกเป็นกันเองที่จะพูดคุยถึงปัญหา ของตนโดยไม่มีการซ่อนเร้นและควรพูดจาซักถามสาเหตุ เวลาที่เสพติดนานแค่ไหน อย่าประนามดุด่าเด็กและควรหาทางช่วยเหลืออย่างรีบด่วน
4. อธิบายให้เด็กเข้าใจและรู้โทษตามกฎหมายที่จะได้รับจากการใช้ยาเสพติด
5. ให้เด็กได้รู้โทษของยาเสพติด
6. ร่วมมือกับครูประจำชั้นเพื่อหาทางแก้ไข เช่นจัดกลุ่มอภิปรายกับเด็กนักเรียน ถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด ครูที่สนใจปัญหาต่างๆเหล่านี้และรับฟังเด็กด้วยท่าทีที่เห็นใจ จะช่วยเด็กได้อย่างมาก
7. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างพลังใจ อารมณ์ ความนึกคิดไปในทางที่มีความหมาย เช่น ชมรมกีฬา ชมรมดนตรี
8. พาเด็กไปพบแพทย์ตามสถานที่รับรักษาผู้ติดยาเสพติด หรือสถานที่บางแห่งรักษาด้วยสมุนไพรเช่น ที่ถ้ำกระบอก จังหวัดสระบุรี
9. ควรแยกเด็กจากสิ่งแวดล้อมเดิมหรือให้ห่างจากเพื่อนที่ติดยาเสพติดด้วยกัน เพื่อป้องกันไม่ให้กลับไปเสพอีก
10. อธิบายให้เด็กเข้าใจว่าการเลิกยาเสพติดนั้นอยู่ที่การตัดสินใจของเขาเอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขาเอง เขาต้องรับผิดชอบชีวิตของเขาเอง การที่เขาเลิกยาเสพติดได้จะทำให้อนาคตของเขาดีขึ้น
การติดยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน มักจะเนื่องมาจากครอบครัว ไม่เป็นสุขมีความขัดแย้ง หรือปล่อยปละละเลยจนถูกชักจูงไปเสพได้ง่าย หรือใช้ยาเสพติดเป็นทางออกของชีวิต การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น ในครอบครัว การให้ความรักความเข้าใจ แก่เด็กและเยาวชนบุตรหลานของท่าน อย่างมีเหตุผลที่ถูกต้องเหมาะสมก็จะเป็นการป้องกันปัญหาการติดยาเสพติดได้
โดย วิทยากร ร.ต.ต พรสัณน์ วิรัตน์เกษม
ตำแหน่ง รอง สว.(ป)ฯ สภ.เมืองพะเยา
5. ปิดกิจกรรมการรณรงค์และป้องกันปัญหายาเสพติดในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมป้องกันและให้ความรู้เรื่องยาเสพติดในตำบลสันป่าม่วง จังหวัด พะเยา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลสันป่าม่วง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......