กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพดีตามวิถีภูมิปัญญาการแแพทย์แผนไทย ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพดีตามวิถีภูมิปัญญาการแแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพดีตามวิถีภูมิปัญญาการแแพทย์แผนไทย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพดีตามวิถีภูมิปัญญาการแแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพดีตามวิถีภูมิปัญญาการแแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมา ซึ่งมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ระบุถึงการใช้พืชพรรณสมุนไพรตั้งแต่สมัยพุทธกาล การนำสมุนไพรมาใช้ได้ทั้งในแง่การนำมารับประทานเป็นอาหาร เช่น การรับประทานพืชผัก หรือนำมาประกอบเป็นอาหาร นอกจากนั้นยังนำมาใช้เป็นยารักษาโรคเวลาเกิดอาการเจ็บป่วย การใช้ลูกประคบสมุนไพรก็เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่คนไทยเรานำมาใช้กันตั้งแต่รุ่นปู่ย่าของเรา หลายท่านคงจะเคยมีประสบการณ์การใช้ลูกประคบสมุนไพรอยู่บ้าง แต่หลายท่านอาจจะไม่ทราบถึงรายละเอียด ในเรื่องผล การรักษา วิธีการใช้ อาการที่เหมาะกับการใช้ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพรเป็นภูมิปัญญาไทย ที่มีมาแต่โบราณ เป็นการนำสมุนไพรพื้นบ้านชนิดต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ในการคลายกล้ามเนื้อ ลดอาการปวดเมื่อยลูกประคบมีพืชสมุนไพรเป็นส่วนประกอบหลัก อย่างน้อย 3 ชนิด ได้แก่ ไพล ขมิ้นชันและตะไคร้ อาจผสมสมุนไพรชนิดอื่นๆ เช่น ผิวมะกรูด ใบมะขาม การบูร พิมเสน ลูกประคบสมุนไพรมีอยู่ด้วยกันหลายสูตรทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแต่ละภูมิภาคของประเทศ ซึ่งจะใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้นๆเป็นส่วนประกอบ การทำลูกประคบสมุนไพรแบบแห้งโดยนำสมุนไพรมาทำความสะอาดแล้วหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ทำให้แห้งโดยการอบหรือตากแดด และห่อสมุนไพรแห้งด้วยผ้าดิบหรือผ้าฝ้าย แล้วมัดให้แน่นเป็นลูกกลมๆ นำไปนึ่งให้ความร้อน แล้วนำไปประคบในบริเวณที่มีการปวดตึงกล้ามเนื้อ นอกจากนี้สมุนไพรไทย ยังสามารถมาทำเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆได้อีกมาก อันได้แก่ การทำยาหม่องการทำน้ำมันไพล การทำน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น และการทำสมุนไพรอบตัวเพื่อสุขภาพ ทั้งนี้ยังมีศาสตร์การรักษาอีกรูปแบบหนึ่งที่น่าสนใจในการดูแลสุขภาพ นั้นคือศาสตร์การเผาเครื่องยาร้อน ซึ่งเป็นการนำสมุนไพรที่มีน้ำมันหอมระเหยซึ่งส่วนใหญ่จะมีรสเผ็ดร้อน ซึ่งมีฤทธิ์ในการขยายหลอดเลือดช่วยลดอาการปวด และคลายกล้ามเนื้อได้ดีเช่น หัวไพล, ขิง, ข่า เป็นต้น มาตำรวมกัน แล้วนำไปวางบนท้องรอบสะดือแล้วใช้ผ้าเปียกทำเป็นวงกลมล้อมรอบ ใส่เกลือและน้ำมันสมุนไพรเล็กน้อย และใช้ผ้าอีกผืนคลุมทับอีกชั้นหนึ่งแล้วจุดไฟเผา (การเผายาสามารถทำบริเวณกล้ามเนื้อส่วนอื่นของร่างกายได้ด้วยเช่น กล้ามเนื้อบ่า หลัง ขา เป็นต้น) ประโยชน์ของการเผายา คือ ใช้รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย เป็นต้น สถานการณ์การใช้บริการการแพทย์แผนไทยปี พ.ศ.2552, 2554 และ 2556 โดย รัชนี จันทร์เกษและคณะ เผยแพร่ในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุขฉบับเมษายน-มิถุนายน 2559 เป็นหนึ่งในงานศึกษาเกี่ยวกับสถานการณ์การแพทย์แผนไทยที่น่าสนใจ กล่าวคือ เป็นการศึกษาด้านการแพทย์แผนไทยในภาพรวมของประเทศจากเอกสารผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของสำนักงานสถิติแห่งชาติปี พ.ศ. 2552, 2554 และ 2556 เกี่ยวกับภาวะการเจ็บป่วยและการเข้ารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านจากการสัมภาษณ์ประชากรทั่วประเทศปีละ 28,000 ครัวเรือน ผลการศึกษาพบว่า ประชากรไทยที่เจ็บป่วยส่วนใหญ่เลือกไปรักษาที่สถานพยาบาลภาครัฐ การไปหาหมอพื้นบ้าน/หมอแผนโบราณ หรือหมอนวดไทยมีค่อนข้างน้อย ไม่ถึงร้อยละ 2 ของประชากรที่เจ็บป่วย การรักษาด้วยยาสมุนไพรในภาพรวมมีแนวโน้มลดลง โดยพบว่ากลุ่มอายุ 25-59 ปีที่เจ็บป่วยมีการใช้ยาแผนโบราณ หรือยาสมุนไพรระหว่างร้อยละ 51.0-60.3 ของประชากรที่เจ็บป่วยทั้งหมด ที่น่าสนใจคือโรคปวดหลังและปวดกล้ามเนื้อต่างๆ เป็นกลุ่มอาการที่พบมากเป็นอันดับสอง แต่กลับมีการใช้ยาแผนโบราณหรือสมุนไพรเป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็นร้อยละ 27.3 33.4 และ 31.1 ของประชากรที่ใช้ยาแผนโบราณหรือสมุนไพรในปี พ.ศ.2552, 2554 และ 2556 ตามลำดับ ข้อค้นพบสำคัญจากการศึกษาครั้งนี้ ชี้ให้เห็นว่าการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกยังเป็นทางเลือกที่สำคัญในการดูแลสุขภาพของคนไทย เห็นได้จากการเลือกใช้วิธีการรักษาด้วยแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น แต่การใช้ยาแผนโบราณและยาสมุนไพรยังไม่สามารถทดแทนยาแผนปัจจุบันได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากการขับเคลื่อนดำเนินงานด้านยาแผนโบราณและยาสมุนไพรที่ยังขยายตัวได้ไม่มากนักแม้จะได้รับการสนับสนุนในระดับนโยบายค่อนข้างสูงก็ตาม ด้วยเหตุที่ปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวกับสมุนไพรตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำยังมีปัญหา จากข้อความข้างต้น เทศบาลเมืองเบตงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพด้วนศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประกอบกับเทศบาลเมืองเบตง มีบุคลากรที่มีใบประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย นวดไทยและผดุงครรภ์ไทย จึงได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารให้เตรียมความพร้อมในการเปิดคลินิก
ดังนั้น เทศบาลเมืองเบตง โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพดีตามวิถีภูมิปัญญาการแแพทย์แผนไทยขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการเปิดให้บริการและเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ เสริมสร้างให้ประชาชนรอบรู้ด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุน ให้มีการนําภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทยสู่การใช้ประโยชน์สูงสุดอย่างยั่งยืนต่อไป ทั้งนี้ขอรับรองว่าโครงการนี้ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น มีความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน และเทศบาลเมืองเบตงได้รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแล้ว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ในการนำสมุนไพรไทย เพื่อใช้ในการทําผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพได้
  2. 2. เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนวดประคบด้วยสมุนไพรและศาสตร์การเผาเครื่องยาร้อน
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้อบรมมีมาสนใจและใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพกายด้วยพืชสมุนไพรไทย
  2. ผู้เข้าร่วมสามารถป้องกันการใช้ยาที่มากเกินไป ควบคู่กับการนำสมุนไพรในการบำบัดรักษาโรคได้
  3. ผู้เข้าร่วมสามารถประยุกต์ใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ในการนำสมุนไพรไทย เพื่อใช้ในการทําผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : 1. ผู้อบรมมีความรู้ในการนำสมุนไพรไทย เพื่อใช้ในการทําผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและใช้ในการดูแลสุขภาพได้
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนวดประคบด้วยสมุนไพรและศาสตร์การเผาเครื่องยาร้อน
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนวดประคบด้วยสมุนไพรและศาสตร์การเผาเครื่องยาร้อน
0.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้อบรมมีมาสนใจและใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 60 ของผู้อบรมสนใจและใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ในการนำสมุนไพรไทย เพื่อใช้ในการทําผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพได้ (2) 2. เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจในการนวดประคบด้วยสมุนไพรและศาสตร์การเผาเครื่องยาร้อน (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้อบรมมีมาสนใจและใช้พืชสมุนไพรในการดูแลสุขภาพมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพดีตามวิถีภูมิปัญญาการแแพทย์แผนไทย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด