กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลดพุง ลดโรค เทศบาลเมืองพะเยา ประจำปี2566
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพะเยา
วันที่อนุมัติ 19 ตุลาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 19 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 48,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรมีความรู้ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และเหมาะสมในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและการจัดการกับอารมณ์ที่เหมาะสม

 

0.00
2 2. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากร กลุ่มเสี่ยงที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ อ้วนและอ้วนลงพุง มีความรู้และทัศนคติที่ดี มีแนวทางเลือกในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 48,600.00 0 0.00
19 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน 0 0.00 -
19 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66 2. จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน 0 48,600.00 -
19 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 66 3. ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามโครงการ 0 0.00 -
1 - 30 ก.ย. 66 4. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมข้อเสนอแนะทางแก้ไขปัญหา 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. บุคลากรในองค์กรมีความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองเพื่อควบคุมน้ำหนักและการออกกำลังกาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมน้ำหนักและมีรอบเอวที่เหมาะสม
  2. บุคลากรกลุ่มเสี่ยงอ้วนและอ้วนลงพุง สามารถประเมินน้ำหนักดัชนีมวลกาย รอบเอว ได้ด้วยตนเอง มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
  3. บุคลากรกลุ่มเสี่ยง มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในกลุ่มปกติ (ค่า BMI ระหว่าง 18.50 - 22.50 ) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีเป้าหมายจากกลุ่มเสี่ยงเป็นกลุ่มปกติ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.ย. 2566 10:43 น.