กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
จัดกิจกรรมรณรงค์เคาะประตูบ้าน รวบรวมขยะอันตรายโดยการสร้างแรงจูงใจ พร้อมทั้งติดตั้งตู้รองรับขยะอันตราย 1 ก.ย. 2566 10 ธ.ค. 2566

 

วิธีดำเนินการ (ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4) 5.1  เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 5.2  ประสานงานกับผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงานในครั้งนี้ 5.3  ประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม 5.4  จัดกิจกรรม ฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการกำจัดขยะอันตรายและขยะติดเชื้อ สารพิษที่เป็นอันตราย   ต่อสุขภาพ 1) จัดฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน 2) เคาะประตูรณรงค์คัดแยกขยะอันตราย และติดตั้งจุดรับขยะอันตรายประจำชุมชน 3) จัดกิจกรรมรณรงค์ขยะอันตรายแลกไข่ (สร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะอันตราย) และเพื่อนำ     เปลือกไข่มาใช้ทดแทนสารเคมีปราบศัตรูพืช
5.5  ประเมินผลการจัดทำถังขยะอันตรายและถังขยะติดเชื้อแจกจ่ายให้กับชุมชน
5.1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 5.2 จากผลการทดสอบความรู้ ก่อน – หลัง การอบรม 5.3 ปริมาณขยะอันตรายที่รวบรวมในชุมชน 5.6  สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

 

-ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ และกำจัดขยะอันตราย - ได้ตู้รองรับขยะอันตราย จำนวน 1 ชุด

 

จัดกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน 9 ธ.ค. 2566 9 ธ.ค. 2566

 

วิธีดำเนินการ (ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4) 5.1  เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 5.2  ประสานงานกับผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงานในครั้งนี้ 5.3  ประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม 5.4  จัดกิจกรรม ฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการกำจัดขยะอันตรายและขยะติดเชื้อ สารพิษที่เป็นอันตราย   ต่อสุขภาพ 1) จัดฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน 2) เคาะประตูรณรงค์คัดแยกขยะอันตราย และติดตั้งจุดรับขยะอันตรายประจำชุมชน 3) จัดกิจกรรมรณรงค์ขยะอันตรายแลกไข่ (สร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะอันตราย) และเพื่อนำ     เปลือกไข่มาใช้ทดแทนสารเคมีปราบศัตรูพืช
5.5  ประเมินผลการจัดทำถังขยะอันตรายและถังขยะติดเชื้อแจกจ่ายให้กับชุมชน
5.1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 5.2 จากผลการทดสอบความรู้ ก่อน – หลัง การอบรม 5.3 ปริมาณขยะอันตรายที่รวบรวมในชุมชน 5.6  สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

 

-มีผู้เข้าร่วมอบรมฯ จำนวน 30 คน

 

อบรมเชิงปฏิบัติการผลิตยาไล่มด แมลง จากเปลือกไข่ทดแทนสารเคมีที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ 10 ธ.ค. 2566 10 ธ.ค. 2566

 

วิธีดำเนินการ (ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4) 5.1  เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 5.2  ประสานงานกับผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงานในครั้งนี้ 5.3  ประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม


  • 3 - 5.4  จัดกิจกรรม ฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการกำจัดขยะอันตรายและขยะติดเชื้อ สารพิษที่เป็นอันตราย   ต่อสุขภาพ 1) จัดฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน 2) เคาะประตูรณรงค์คัดแยกขยะอันตราย และติดตั้งจุดรับขยะอันตรายประจำชุมชน 3) จัดกิจกรรมรณรงค์ขยะอันตรายแลกไข่ (สร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะอันตราย) และเพื่อนำ     เปลือกไข่มาใช้ทดแทนสารเคมีปราบศัตรูพืช
    5.5  ประเมินผลการจัดทำถังขยะอันตรายและถังขยะติดเชื้อแจกจ่ายให้กับชุมชน
    5.1 จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 5.2 จากผลการทดสอบความรู้ ก่อน – หลัง การอบรม 5.3 ปริมาณขยะอันตรายที่รวบรวมในชุมชน 5.6  สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

 

-ผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการฯสามารถผลิตยาไล่มด แมลง จากเปลือกไข่ได้