กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง ในประชากรเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2566

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา


“ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง ในประชากรเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกฤษณา พิรา

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง ในประชากรเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง ในประชากรเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง ในประชากรเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง ในประชากรเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเสา อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,082.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคเรื้อรังในเขตตำบลท่าเสา ระหว่างปี 2562 - 2565 พบจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ปี 2562 จำนวน 23 ราย ,ปี 2563 จำนวน 40ราย ปี 2564 จำนวน 44 ราย และปี 2565จำนวน45รายตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วยรายใหม่ 357.09,648.72,749.83,716.33 ต่อประชากรแสนคน และพบจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ปี 2562 จำนวน 47,ปี 2563 จำนวน 51 ราย ปี 2564 จำนวน 103 ราย และปี 2565 จำนวน 81 ราย ตามลำดับ คิดเป็นอัตราป่วยรายใหม่ 729.70,827.12,1755.28,1289.39 ต่อประชากรแสนคน (ที่มา:ข้อมูล HDC จ.พิจิตร;2565)
สถานการณ์โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปี 2563 – 2565 พบจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จำนวน12,11,15 รายคิดเป็นอัตราป่วย 806.45,724.16,987.49ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ และพบจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จำนวน 9,20,25 ราย คิดเป็นอัตราป่วย604.84, 1316.66,1645.82 ต่อประชากรแสนคน (ทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รพ.สต.ท่าเสา. 1 ต.ค.65) จากผลการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคเรื้อรัง ในปีงบประมาณ 2565 ของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าเสา พบภาวะเสี่ยงเป็นดังนี้เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 42 คน เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 110 คน เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดระดับ 2-5 จำนวน 17 คน เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน31 คน และกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะดัชนีมวลกาย(BMI) มากกว่า 30 และรอบเอวเกิน จำนวน 124 คน จากข้อมูลคัดกรองภาวะเสี่ยงยังคงพบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม เช่น การขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร รสหวาน มัน เค็ม เป็นต้น และทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเสาได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อปัจจัยร่วมของภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพและค้นหาสาเหตุที่เกี่ยวข้องของการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง จากปีงบประมาณ 2565 โดยพบจำนวนผู้ที่เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง ทั้งหมด 3 ราย ในจำนวนนี้มีประวัติรับการรักษาภาวะไขมันในเส้นเลือดสูงและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 66.67 ของผู้เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองทั้งหมด ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเสาจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยง สามารถรับรู้สถานะสุขภาพของตนเองและนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันไม่ให้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะหลอดเลือดสมอง และลดอัตราการเสียชีวิตจากภาวะหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังในกลุ่มประชากรอายุ 30 ปีขึ้นไป
  2. เพื่อประเมินภาวะเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากระดับไขมันในเส้นเลือด
  3. เพื่ออบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดสมอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง
  2. เชิญกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อเจาะเลือด
  3. เจาะเลือดกลุ่มเสี่ยง
  4. หนังสือคืนข้อมูล
  5. กิจกรรมอบรม
  6. การสรุปผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไปในเขตเทศบาลตำบลท่าเสาได้รับการคัดกรองสุขภาพเพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง 2.ผู้ที่ตรวจพบภาวะผิดปกติได้รับการตรวจรักษาเเละส่งต่อ 3.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานเเละโรคความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่ให้เป็นผู้ป่วยรายใหม่ 4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการคัดกรองภาวะไขมันเเละสามารถป้องกันตนเองจากภาวะหลอดเลือดสมอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังในกลุ่มประชากรอายุ 30 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด :
80.00

 

2 เพื่อประเมินภาวะเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากระดับไขมันในเส้นเลือด
ตัวชี้วัด :
80.00

 

3 เพื่ออบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด :
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังในกลุ่มประชากรอายุ 30 ปีขึ้นไป (2) เพื่อประเมินภาวะเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากระดับไขมันในเส้นเลือด (3) เพื่ออบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดสมอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง (2) เชิญกลุ่มเสี่ยงสูงเพื่อเจาะเลือด (3) เจาะเลือดกลุ่มเสี่ยง (4) หนังสือคืนข้อมูล (5) กิจกรรมอบรม (6) การสรุปผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและป้องกันภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง ในประชากรเขตเทศบาลตำบลท่าเสา ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกฤษณา พิรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด