โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลบางตะบูน
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลบางตะบูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลบางตะบูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค Metabolic โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยมีเป้าหมายประชากรกลุ่มอายุ 15-34 ปีขึ้นไปทุกราย ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรค Metabolicด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม (Verbal Screening) การเจาะหาน้ำตาลปลายนิ้ว การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูงและการวัดเส้นรอบพุง เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการตรวจยืนยันความเสี่ยงต่อโรค Metabolic โดยบุคลากรสาธารณสุขเพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง รวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกราย อันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว
จากภาวะเศรษฐกิจและการดำรงชีพของประชาชนในปัจจุบันนี้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่เกิดภาวะเครียด รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย และยังพบว่าปัญหาการเจ็บป่วยของประชาชนในปัจจุบันเปลี่ยนไปจากเดิม พบผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมากขึ้น เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก โรคหัวใจ ไขมันในเส้นเลือดสูง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการที่ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ทั้งเรื่องการบริโภคอาหารรสหวานจัด เค็มจัด การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ขาดการออกกำลังกาย และไม่เห็นความสำคัญของการตรวจสุขภาพ ซึ่งเป็นภัยเงียบที่คุกคามสุขภาพของประชาชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ลดโอกาสการเจ็บป่วยด้วยโรคกลุ่มเมตาบอลิกลงได้ (ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง)
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางหอกระจายข่าว/เสียงตามสายในหมู่บ้านและอสม.
- อบรมฟื้นฟูความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ อสม.เรื่องการตรวจคัดกรองสุขภาพก่อนออกรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพและเตรียมความพร้อมของข้อมูลก่อนลงปฏิบัติงาน
- รณรงค์ตรวจคัดกรองประชาชนที่มีอายุ 15-34 ปีขึ้นไปที่ศาลากลางหมู่บ้าน ทั้ง 5 หมู่บ้าน จำนวน 5 วัน โดยชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินค่า BMI วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต และเจาะเลือดหาเบาหวาน
- ประเมินสภาวะสุขภาพและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ
- สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
174
กลุ่มวัยทำงาน
244
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรตำบลบางตะบูนอายุ 15-34 ปี ขึ้นไป ไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- ประชากรในตำบลบางตะบูนมีสุขภาพดีขึ้น อัตราป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยลดลง
- ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ลดโอกาสการเจ็บป่วยด้วยโรคกลุ่มเมตาบอลิกลงได้ (ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง)
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
418
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
174
กลุ่มวัยทำงาน
244
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ลดโอกาสการเจ็บป่วยด้วยโรคกลุ่มเมตาบอลิกลงได้ (ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง) (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางหอกระจายข่าว/เสียงตามสายในหมู่บ้านและอสม. (2) อบรมฟื้นฟูความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ อสม.เรื่องการตรวจคัดกรองสุขภาพก่อนออกรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพและเตรียมความพร้อมของข้อมูลก่อนลงปฏิบัติงาน (3) รณรงค์ตรวจคัดกรองประชาชนที่มีอายุ 15-34 ปีขึ้นไปที่ศาลากลางหมู่บ้าน ทั้ง 5 หมู่บ้าน จำนวน 5 วัน โดยชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินค่า BMI วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต และเจาะเลือดหาเบาหวาน (4) ประเมินสภาวะสุขภาพและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ (5) สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566 ”
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลบางตะบูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลบางตะบูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค Metabolic โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยมีเป้าหมายประชากรกลุ่มอายุ 15-34 ปีขึ้นไปทุกราย ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรค Metabolicด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม (Verbal Screening) การเจาะหาน้ำตาลปลายนิ้ว การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูงและการวัดเส้นรอบพุง เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการตรวจยืนยันความเสี่ยงต่อโรค Metabolic โดยบุคลากรสาธารณสุขเพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง รวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกราย อันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว จากภาวะเศรษฐกิจและการดำรงชีพของประชาชนในปัจจุบันนี้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่เกิดภาวะเครียด รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย และยังพบว่าปัญหาการเจ็บป่วยของประชาชนในปัจจุบันเปลี่ยนไปจากเดิม พบผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมากขึ้น เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก โรคหัวใจ ไขมันในเส้นเลือดสูง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการที่ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ทั้งเรื่องการบริโภคอาหารรสหวานจัด เค็มจัด การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ขาดการออกกำลังกาย และไม่เห็นความสำคัญของการตรวจสุขภาพ ซึ่งเป็นภัยเงียบที่คุกคามสุขภาพของประชาชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ลดโอกาสการเจ็บป่วยด้วยโรคกลุ่มเมตาบอลิกลงได้ (ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง)
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางหอกระจายข่าว/เสียงตามสายในหมู่บ้านและอสม.
- อบรมฟื้นฟูความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ อสม.เรื่องการตรวจคัดกรองสุขภาพก่อนออกรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพและเตรียมความพร้อมของข้อมูลก่อนลงปฏิบัติงาน
- รณรงค์ตรวจคัดกรองประชาชนที่มีอายุ 15-34 ปีขึ้นไปที่ศาลากลางหมู่บ้าน ทั้ง 5 หมู่บ้าน จำนวน 5 วัน โดยชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินค่า BMI วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต และเจาะเลือดหาเบาหวาน
- ประเมินสภาวะสุขภาพและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ
- สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 174 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 244 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรตำบลบางตะบูนอายุ 15-34 ปี ขึ้นไป ไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- ประชากรในตำบลบางตะบูนมีสุขภาพดีขึ้น อัตราป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง และสงสัยป่วยลดลง
- ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ลดโอกาสการเจ็บป่วยด้วยโรคกลุ่มเมตาบอลิกลงได้ (ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง) ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 418 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 174 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 244 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ลดโอกาสการเจ็บป่วยด้วยโรคกลุ่มเมตาบอลิกลงได้ (ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง) (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านทางหอกระจายข่าว/เสียงตามสายในหมู่บ้านและอสม. (2) อบรมฟื้นฟูความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ อสม.เรื่องการตรวจคัดกรองสุขภาพก่อนออกรณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพและเตรียมความพร้อมของข้อมูลก่อนลงปฏิบัติงาน (3) รณรงค์ตรวจคัดกรองประชาชนที่มีอายุ 15-34 ปีขึ้นไปที่ศาลากลางหมู่บ้าน ทั้ง 5 หมู่บ้าน จำนวน 5 วัน โดยชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินค่า BMI วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต และเจาะเลือดหาเบาหวาน (4) ประเมินสภาวะสุขภาพและส่งต่อในรายที่ผิดปกติ (5) สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ตรวจวัดสุขภาพประชาชนบางตะบูน เพื่อค้นหาภัยเงียบปี 2566 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......