กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางทวารัตน์ สุขสม

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2567-L6896-03-01 เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2567-L6896-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,634.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โภชนาการในเด็กเป็นสิ่งสำคัญ ควรมีการส่งเสริมพัฒนาการเพื่อป้องกันการเกิดภาวะทุพโภชนาการ อาหารที่จัดให้ควรเป็นอาหารที่เหมาะสมกับวัย ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพียงพอกับความต้องการพลังงานและสารอาหารในปริมารค่อนข้างสูง จากการที่ร่างกายของเด็กกำลังเจริญเติบโต หากได้รับไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย อาจทำให้เกิดปัญหาทางโภชนาการเกิดขึ้นกับเด็กได้ ซึ่งปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อย ได้แก่ โรคขาดโปรตีนและพลังงาน โรคขาดสารไอโอดีน โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโรคขาดวิตามินเอ ซึ่งโรคต่างๆเหล่านี้เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการให้เด็กได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยต่อการบริโภค ตลอดชนมีปริมาณที่เพียงพอและเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายร่วมกับการให้โภชนาการศึกษาแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง และการเฝ้าระวังทางโภชนาการโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงทุก 3 เดือน แล้วนำน้ำหนักส่วนสูงไปเทียบกับกราฟมาตรฐาน ซึ่งเป็นกราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง การเจริญเติบโตของเด็กไทย
    ดังนั้นจากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดควนวิเศษได้เห็นถึงความสำคัญของภาวะโภชนาการเป็น สิ่งสำคัญยิ่งสำหรับเด็ก จึงได้ดำเนินจัดโครงส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการสำหรับเด็กขึ้น เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองสามารถให้การอบรมเลี้ยงดูให้เด็กมีการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่เหมาะสมกับวัยสามารถนำความรู้ที่ได้ไปป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กได้ ให้เด็กมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ สามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพกายที่สมบูรณ์-แข็งแรงรักการออกกำลังกายเพราะเมื่อร่างกายแข็งแรง เด็กก็จะมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ที่ดี มีการปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆช่วยให้มีพัฒนาการด้านสติปัญญาที่ดี สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ตรงกับคำกล่าวที่ว่า ดี เก่งและมีความสุข ทั้งนี้ยังเป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็ก ระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลนครตรังและผู้ปกครอง ได้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติให้มีความพร้อมของพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ สามารถนำพาประเทศชาติให้มีความเจริญรุ่งเรื่องต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย
  2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมตามวัย
  3. เพื่อให้ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็กได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กตามช่วงวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมประเมินพัฒนาการการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็กและผู้ดูแลเด็ก ถึงแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/แก้ไข กระตุ้นเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้มีความเหมาะสมตามวัย
  4. กิจกรรมประเมินพัฒนาการการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเด็กมีความรู้เกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูเด็กเล็กให้มีพัฒนาการสมวัยในทุกด้าน
  2. ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเด็กสามารถจัดอาหารในปริมาณที่เด็กควรได้รับในแต่ละวันอย่างถูกต้อง เหมาะสม
    และป้องกันปัญหาภาวะโภชนาการเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ และน้ำหนักมากเกินเกณฑ์ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดควนวิเศษ
  3. ผู้ปกครอง ครู และผู้ดูแลเด็กได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กเล็ก ให้มีพัฒนาการด้านต่างๆตามวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัย

 

2 เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและพัฒนาให้เหมาะตามช่วงวัย

 

3 เพื่อให้ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็กได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กตามช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็กที่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมตามวัย (3) เพื่อให้ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ดูแลเด็กได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กตามช่วงวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมประเมินพัฒนาการการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็กและผู้ดูแลเด็ก ถึงแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/แก้ไข กระตุ้นเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้มีความเหมาะสมตามวัย (4) กิจกรรมประเมินพัฒนาการการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2567-L6896-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทวารัตน์ สุขสม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด