กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด


“ โครงการดวงตาสดใส ห่างไกลหน้าจอ ”

ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวชดาษา จันพรมทอง

ชื่อโครงการ โครงการดวงตาสดใส ห่างไกลหน้าจอ

ที่อยู่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5258-02-24 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดวงตาสดใส ห่างไกลหน้าจอ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดวงตาสดใส ห่างไกลหน้าจอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดวงตาสดใส ห่างไกลหน้าจอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5258-02-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุกวันนี้หลายๆ ครอบครัวมักจะนำเทคโนโลยีเข้ามาเลี้ยงลูกกันมากขึ้น หรือปล่อยให้เด็กอยู่กับสื่อเทคโนโลยี เช่น มือถือ แท็บเล็ต หากปล่อยให้เด็กใกล้ชิดสื่อเหล่านี้มากเกินไปโดยไม่กำหนดเวลาดูหรือเลือกสื่อ ที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลเสียหลายด้าน คือ 1) ด้านการสื่อสาร ขาดความคิดสร้างสรรค์ และ การจ้องมองจอภาพเป็นเวลานานจะส่งผลเสียกับดวงตาได้ เช่น ทำให้สายตาสั้น ดวงตาแห้ง 2) ด้านร่างกาย จะไม่แข็งแรง เหนื่อยง่าย ขาดการเคลื่อนไหวออกกำลังกายตามที่ควรจะเป็นหรืออาจส่งผลให้เป็นเด็กขี้เกียจได้ 3) ด้านอารมณ์ ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ เพราะเด็กแยกแยะโลกของอินเทอร์เน็ตกับความจริงไม่ได้ หงุดหงิดง่าย ใจร้อน รอคอยไม่เป็น เด็กขาดสมาธิไม่จดจ่อหรือตั้งใจทำกิจกรรมใด และ 4) ด้านพฤติกรรม จะก้าวร้าว ซน สมาธิสั้น มีพฤติกรรมคล้ายออทิสติก คือดื้อ ต่อต้าน โลกส่วนตัวสูง สื่อสารกับคนอื่นน้อย จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) ในห่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา สถานศึกษาทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย ได้รับผลกระทบในด้านการจัดการเรียนการสอน ซึ่งต้องปรับรูปแบบจากการเรียนในชั้นเรียนปกติ (On-site) มาเป็นรูปแบบออนไลน์ (On-line) โดยมีการสนับสนุนงบจากรัฐบาลในการจัดซื้อโทรศัพท์มือถือเพื่อใช้ในการเรียนการสอนในระหว่างนั้น ทำให้นักเรียนทุกคนมีโทรศัพท์ไว้ใช้ แม้จะเปิดเรียนปกติแล้วก็ตาม ดังนั้น จากการสังเกตเด็กนักเรียนของโรงเรียนบ้านนาม่วง ในช่วงภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ที่ผ่านทำให้ทราบว่า นักเรียนเกิดภาวะถดถอยในการเรียน (Learning Loss) สมาธิสั้น ใจร้อน ขาดเรียนบ่อย แอบพกโทรศัพท์มาโรงเรียน ติดโซเซียลมาก ใช้เวลาส่วนใหญ่หลังเลิกเรียนอยู่กับโทรศัพท์มือถือ และไม่สนใจกิจกรรมอื่นๆ เท่าที่ควร โรงเรียนบ้านนาม่วงจึงตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและอาจส่งผลไปในอนาคตอย่างแน่นอน ข้อสังเกตที่เห็นได้ชัดเจนมากคือ นักเรียนไม่มีความรู้ความเข้าใจในอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้มือถือ เนื่องจากโรงเรียนไม่ได้เตรียมนักเรียนให้พร้อมเพื่อรับมือสำหรับการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตอย่างเร่งด่วน (ในช่วงที่เกิดสถานการณ์โควิด) ทำให้นักเรียนเสพติดการใช้มือถือ ติดเกม อย่างขาดความหยั้งคิด และขาดสติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้โทรศัพท์มืออย่างถูกต้อง ไม่ทำลายสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม รณรงค์ ประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 93
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านนาม่วง และบุคคลทั่วไปที่เข้ามาใช้บริการสถานที่ มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงโทษภัยของการใช้โทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน
  2. โรงเรียนบ้านนาม่วงมีสื่อรณรงค์ที่เพียงพอในบริเวณโรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้โทรศัพท์มืออย่างถูกต้อง ไม่ทำลายสุขภาพ
ตัวชี้วัด : เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้โทรศัพท์มืออย่างถูกต้อง ไม่ทำลายสุขภาพ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 93
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 93
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้โทรศัพท์มืออย่างถูกต้อง ไม่ทำลายสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม รณรงค์ ประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดวงตาสดใส ห่างไกลหน้าจอ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5258-02-24

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชดาษา จันพรมทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด