โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ”
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5182-04-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5182-04-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้าได้จัดตั้งขึ้น เพื่อให้ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้องรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้านี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ร้อยละของคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้
- ร้อยละของการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- ร้อยละของกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มองค์กร ผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- ร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษากองทุน และคณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
- จัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ประจำสำนักงานกองทุนฯ
- ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ
- การประชุมอนุกรรมการกองทุนและอนุกรรมการ LTC
- ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
- การเดินทางของคณะกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ คณะทำงานและผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน
- พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ประชาชนและหน่วยงานที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
- ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ
- ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
- ประชุมเชิงปฏิบัติการณ์การจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
40
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการประชุมเพื่อพิจารณาผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และพิจารณาจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan)
0
0
2. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
วันที่ 17 มกราคม 2567 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการพิจารณาโครงการแว่นตาใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
0
0
3. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
วันที่ 30 มกราคม 2567 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการพิจารณาโครงการแว่นตาใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อนุมัติโครงการแว่นตาใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
0
0
4. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
วันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 10:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการพิจารณาโครงการฯ 1. โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อป้องกันโรคในเด็กและเยาวชนตำบลนาหว้า 2. โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อนุมัติ 1. โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อป้องกันโรคในเด็กและเยาวชนตำบลนาหว้า 2. โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน
0
0
5. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ
วันที่ 2 พฤษภาคม 2567 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงานของกองทุนฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
รับทราบแนวทางการปฏิบัติงานของกองทุนฯ ร่วมกัน
0
0
6. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
วันที่ 20 มิถุนายน 2567 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์และบาสโลบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลการพิจารณาโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์และบาสโลบ
0
0
7. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
วันที่ 4 กรกฎาคม 2567 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการพิจารณาโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์และบาสโลบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อนุมัติโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์และบาสโลบ
0
0
8. ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
วันที่ 3 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมกันระดมความคิดเห็นการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนฯ
0
0
9. จัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ประจำสำนักงานกองทุนฯ
วันที่ 11 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดหาวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ประจำสำนักงานกองทุนฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ใช้ดำเนินงานกองทุนฯ
0
0
10. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
วันที่ 23 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการ 1. พิจารณาร่างแผนสุขภาพและแผนการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 2. พิจารณาโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อนุมัติ 1. พิจารณาร่างแผนสุขภาพและแผนการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 2. พิจารณาโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ร้อยละของคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้
ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้
85.00
90.00
2
ร้อยละของการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถดำเนินงาน ควบคุม กำกับดูแล การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามระเบียบฯ
90.00
100.00
3
ร้อยละของกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มองค์กร ผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถกำกับดูแลหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด
85.00
90.00
4
ร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น
ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ให้มีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น
85.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
40
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละของคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้ (2) ร้อยละของการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (3) ร้อยละของกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มองค์กร ผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (4) ร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษากองทุน และคณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี (2) จัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ประจำสำนักงานกองทุนฯ (3) ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ (4) การประชุมอนุกรรมการกองทุนและอนุกรรมการ LTC (5) ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ (6) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ (7) การเดินทางของคณะกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ คณะทำงานและผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน (8) พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ประชาชนและหน่วยงานที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล (9) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ (10) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ (11) ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ (12) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ (13) ประชุมเชิงปฏิบัติการณ์การจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า (14) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5182-04-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ”
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5182-04-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5182-04-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้าได้จัดตั้งขึ้น เพื่อให้ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ได้รับบริการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพอย่างทั่วถึง และเพื่อสร้างหลักประกันให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชนได้ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับภารกิจที่ระบุในข้อตกลงการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อันจะส่งผลให้เกิดมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคเรื้องรัง และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่ต่อไป และเพื่อให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจอย่างยั่งยืน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้านี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ร้อยละของคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้
- ร้อยละของการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- ร้อยละของกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มองค์กร ผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- ร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษากองทุน และคณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
- จัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ประจำสำนักงานกองทุนฯ
- ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ
- การประชุมอนุกรรมการกองทุนและอนุกรรมการ LTC
- ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
- การเดินทางของคณะกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ คณะทำงานและผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน
- พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ประชาชนและหน่วยงานที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
- ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ
- ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
- ประชุมเชิงปฏิบัติการณ์การจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
- ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 40 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ |
||
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13:30 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการประชุมเพื่อพิจารณาผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และพิจารณาจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan)
|
0 | 0 |
2. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ |
||
วันที่ 17 มกราคม 2567 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการพิจารณาโครงการแว่นตาใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
|
0 | 0 |
3. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ |
||
วันที่ 30 มกราคม 2567 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการพิจารณาโครงการแว่นตาใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอนุมัติโครงการแว่นตาใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
|
0 | 0 |
4. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ |
||
วันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 10:30 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการพิจารณาโครงการฯ 1. โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อป้องกันโรคในเด็กและเยาวชนตำบลนาหว้า 2. โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอนุมัติ 1. โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเพื่อป้องกันโรคในเด็กและเยาวชนตำบลนาหว้า 2. โครงการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนน
|
0 | 0 |
5. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ |
||
วันที่ 2 พฤษภาคม 2567 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงานของกองทุนฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นรับทราบแนวทางการปฏิบัติงานของกองทุนฯ ร่วมกัน
|
0 | 0 |
6. ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2567 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์และบาสโลบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลการพิจารณาโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์และบาสโลบ
|
0 | 0 |
7. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ |
||
วันที่ 4 กรกฎาคม 2567 เวลา 14:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการพิจารณาโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์และบาสโลบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอนุมัติโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์และบาสโลบ
|
0 | 0 |
8. ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า |
||
วันที่ 3 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมประชุมร่วมกันระดมความคิดเห็นการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนฯ
|
0 | 0 |
9. จัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ประจำสำนักงานกองทุนฯ |
||
วันที่ 11 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดหาวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ประจำสำนักงานกองทุนฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ใช้ดำเนินงานกองทุนฯ
|
0 | 0 |
10. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ |
||
วันที่ 23 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินการ 1. พิจารณาร่างแผนสุขภาพและแผนการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 2. พิจารณาโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอนุมัติ 1. พิจารณาร่างแผนสุขภาพและแผนการเงิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 2. พิจารณาโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้ ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้ |
85.00 | 90.00 |
|
|
2 | ร้อยละของการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถดำเนินงาน ควบคุม กำกับดูแล การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินได้อย่างถูกต้องเป็นไปตามระเบียบฯ |
90.00 | 100.00 |
|
|
3 | ร้อยละของกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มองค์กร ผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละกองทุนหลักประกันสุขภาพสามารถกำกับดูแลหน่วยงานที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ เป็นไปตามแผนงานที่กำหนด |
85.00 | 90.00 |
|
|
4 | ร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น ตัวชี้วัด : เพิ่มร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ให้มีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น |
85.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 40 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละของคณะกรรมการบริหารฯ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงาน มีการเข้าร่วมการประชุมตามที่กำหนดไว้ (2) ร้อยละของการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (3) ร้อยละของกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มองค์กร ผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (4) ร้อยละของข้อมูลในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้ามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันมากขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษากองทุน และคณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี (2) จัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์/ครุภัณฑ์ ประจำสำนักงานกองทุนฯ (3) ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ (4) การประชุมอนุกรรมการกองทุนและอนุกรรมการ LTC (5) ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ (6) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ (7) การเดินทางของคณะกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการ คณะทำงานและผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน (8) พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการที่ดีแก่ประชาชนและหน่วยงานที่ขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล (9) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ (10) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ (11) ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ (12) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ (13) ประชุมเชิงปฏิบัติการณ์การจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า (14) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5182-04-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......