กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2566 ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวศรินรัตน์ ทองปานทิวัตถ์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5227-03-08 เลขที่ข้อตกลง 24/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วน ตำบลระวะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5227-03-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพและพลานามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี ที่จะอยู่อาศัยในศูนย์เด็กเล็กได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับ ครูผู้ดูแลเด็ก และเพื่อนๆ อย่างสงบสุข มีความสะดวกสบาย สะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ และความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม ศูนย์เด็กเล็กที่มีการจัดการ ควบคุมส่งเสริมสนับสนุนปัจจัยเอื้อ และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความน่าอยู่ของศูนย์เด็กเล็ก โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ ทางกาย จิต สังคม และสติปัญญาภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และครูผู้ดูแลเด็กได้รับการส่งเสริมให้สามารถทำงานได้อย่างมีความสุขกาย สบายใจ รวมทั้งเรื่องอาหารและโภชนาการก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศทุกวัยทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2-3 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านทั้งด้านร่างกาย อาหารและโภชนาการที่ดีรวมเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กวัยก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลระวะมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรวมทั้งหมดจำนวน 6 ศูนย์ มีเด็กทั้งหมดจำนวน 80 คน ปัญหาที่พบในเด็กนักเรียน คือ มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและเกินกว่าเกณฑ์มาตรฐานกำหนดโดยเด็กนักเรียนที่มีค่าน้ำหนักมาตรฐาน (สมส่วน) คิดเป็นร้อนละ 76.25% น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(ผอม) คิดเป็นร้อยละ 8.75% และน้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน(อ้วน) คิดเป็นร้อยละ 15% จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมากับเด็กเองในอนาคตข้างหน้า ครู ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้องมีบทบาทสำคัญยิ่งในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และโภชนาการที่ถูกต้อง อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและทำได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ เพื่อให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ผู้ปกครอง เข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรม โดยสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง ระหว่างบ้านและศูนย์ฯ และเกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคลากรในท้องถิ่น ทำให้เกิดการร่วมมือร่วมใจกัน
จากปัญหาดังกล่าว กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลระวะ จึงเห็นความสำคัญและจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย ครูผู้ดูแลเด็ก และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงความสำคัญเรื่องสุขภาพและโภชนาการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ทางด้านการส่งเสริมสุขภาพและพลานามัยที่ถูกต้อง และจัดโภชนาการให้มีความเหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงวัย
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
  3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขภาพพลานามัยที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ ครู เด็กปฐมวัย ผู้ปกครองและผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพพลานามัยให้มีความสมบูรณ์แข็งแรง และหลักโภชนาการที่ถูกต้อง
  2. กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้ ครู เด็กปฐมวัย และผู้ปกครองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการที่ดี
  3. กิจกรรมที่ 3 ประเมินสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  4. กิจกรรมที่ 4 หนูน้อยสุขภาพดีส่งเสริมการออกกำลังกายกล้ามเนื้อโดยการปั้นดินน้ำมันและเต้นประกอบเพลง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลระวะมีค่าเกณฑ์น้ำหนักมาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 90 2.ครู ผู้ดูแลเด็ก และเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลระวะดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพทุกสัปดาห์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ทางด้านการส่งเสริมสุขภาพและพลานามัยที่ถูกต้อง และจัดโภชนาการให้มีความเหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ทางด้านการส่งเสริมสุขภาพและพลานามัยที่ถูกต้อง และจัดโภชนาการให้มีความเหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงวัย ร้อยละ 100
80.00 80.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขภาพพลานามัยที่ดี
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขภาพพลานามัยที่ดี ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ทางด้านการส่งเสริมสุขภาพและพลานามัยที่ถูกต้อง และจัดโภชนาการให้มีความเหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงวัย (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร (3) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขภาพพลานามัยที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ ครู เด็กปฐมวัย ผู้ปกครองและผู้ประกอบอาหารในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพพลานามัยให้มีความสมบูรณ์แข็งแรง และหลักโภชนาการที่ถูกต้อง (2) กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้ ครู เด็กปฐมวัย และผู้ปกครองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการที่ดี (3) กิจกรรมที่ 3 ประเมินสุขภาพเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) กิจกรรมที่ 4 หนูน้อยสุขภาพดีส่งเสริมการออกกำลังกายกล้ามเนื้อโดยการปั้นดินน้ำมันและเต้นประกอบเพลง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5227-03-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศรินรัตน์ ทองปานทิวัตถ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด