กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์อนุรักษ์ปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน ประจำปี 2566 ”
ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
1.นายเจะยิ เจะแต 2.นายอดุลย์ เลาะดีเยาะ




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์อนุรักษ์ปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5260-10(2) เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 ตุลาคม 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์อนุรักษ์ปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน ประจำปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์อนุรักษ์ปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์อนุรักษ์ปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5260-10(2) ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จานการณ์ความผันผวนและมีการเปลี่ยนแปลงของโลก (VUCA World) ประกอบกับผลกร แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVD - ๑๙) ต่อการดำรงชีวิตของประชาชน และระบบการแพทย์และการ สาธารณสุขทั่วโลก ทำให้ทุกประเทศทั่วโลกตระหนักถึงความมั่นคงและความยั่งยืนทางยาชื่งยาจากสมุนไพร เป็นอีกหนึ่ง ความหวัง ดังจะเห็นได้จากหลายประเทศเร่งค้นหาและศึกษาวิจัยยาจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ซึ่งประเทศไทยถือว่าเป็น แหล่งกำเนิดของสมุนไพรที่หลากหลาย มีภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรเป็นยารักษาโรคมายาวนาน มีนักวิทยาศาสตร์ที่มีความรู้ ความสามารถ รวมทั้งมีนโยบายส่งเสริมการพัฒนายจากสมุนพรเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เป็นผลให้ประชาชนหันมา ดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเองและครอบครัวด้วยการบริโภคสมุนไพรมากขึ้น เช่น ฟ้าทะลายโจร กระชาย เป็นต้น ทำให้ สมุนไพรเป็นที่นิยม และมีความต้องการเพิ่มขึ้น แต่การใช้สมุนไพรนั้น หากนำมาใช้ไม่ถูกวิธีหรือไม่เหมาะสมแล้ว จาก คุณประโยชน์ อาจกลายเป็นโทษได้เช่นเดียวกัน การมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง สำหรับพื้นที่ ในแต่ละท้องถิ่นนั้น ถือว่ามีความหลากหลายทางระบบนิเวสสูง มีพืชพรรณสมุนไพรนานาพรรณที่สามารถ ให้ประโยชน์ ทางด้านโภซนาการ มีคุณค่าทางอาหาร และสิ่งที่สำคัญยิ่งคือภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้านที่สืบทอดกันมานาน จน กลายเป็นอัตลักษณ์ท้องถิ่น อย่างไรก็ตาม องค์ความรู้ทางด้านพืชพรรณสมุนไพรดังกล่าวยังชาดการถ่ายทอดให้เด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชนเท่าที่ควร ทำให้ไม่มีผู้สืบทอดภูมิปัญญาด้านการใช้สมุนไหรท้องถิ่นจากบรรพบุรุษ คนรุ่นหลังขาด ความเข้าใจเรื่องสมุนไพร ชนิดของพืชสมุนไพร สรรพคุณและการใช้ประโยชน์ ทั้งยังชาดการสนับสนุนก การขยายพันธุ์พืซสมุนไพร เนื่องจากสมุนไพรบางชนิดได้มาจากบำธรรมชาติ แต่ชุมชนมีการบุกรุกมีการตัดไม้ทำลายป่า อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สมุนไพรในชุมชน ลดน้อยลง บางชนิดสูญหายไป หรืออาจหาได้ยากขึ้น ทางชมรมปลูกสมุนไพรเพื่อ สุขภาพตำบลเปียน เล็งเห็นถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ และการใช้สมุนไพรไทยและสมุนไหร ท้องถิ่นให้กิดประโยชน์ นุรักษ์ภูมิปัญญาไทย จึงได้ดำเนินโครงการรณรงค์อนุรักษ์ปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน เนื่ เฉลิมพระชนมพรรษา ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อร่วมแสดงความจงรักภักดีและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ได้ทรง ปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการตลอดจนเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพร ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชน ไต้เห็นคุณค่าของสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน รวมทั้งเป็นประโยชน์ต่อการรักษาสุขภาพ การอนุรักษ์ และการใช้สมุนไพรท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ โดยน้อมนำ "หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ที่พระบาทสมเด็จกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานไว้ มาปรับใช้ในยังมีความสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
    กลุ่มวัยทำงาน 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ประชาชนมีความรู้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง ๒. ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นเกี่ยวกับชนิดของพืชพรรณสมุนไพร สรรพคุณและการใช้ประโยชน์ ๓. ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประซาชนในชุมชน มีความรู้เรื่องพืชพรรณสมุนไพรไทย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
    กลุ่มวัยทำงาน 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ 20
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์อนุรักษ์ปลูกสมุนไพรเพื่อสุขภาพตำบลเปียน ประจำปี 2566 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L5260-10(2)

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( 1.นายเจะยิ เจะแต 2.นายอดุลย์ เลาะดีเยาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด