โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ ”
หัวหน้าโครงการ
นางประกายดาว สุนทร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
ธันวาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5275-(10)2-14 เลขที่ข้อตกลง 13
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กันยายน 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5275-(10)2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กันยายน 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,978.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีสุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา ซึ่งการมีสุขภาพที่ดีประชาชนจะต้องมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ เมื่อเจ็บป่วยต้องมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยเริ่มจากการดูแลสุขภาพของตนเอง มีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมตามวัย ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วันๆละ ๓๐ นาที ส่งเสริมให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดีที่สุด ห่างไกลโรค
ชมรมรักษ์ทุ่งเลียบ มีสมาชิก ๒๐ คนได้จัดกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลป เป็นประจำทุกวัน ในวันจันทร์ ถึงวันศุกร์ เวลา ๑๗.๐๐-๑๘.๐๐น. อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี ๒๕๖๒ และในปี ๒๕๖๕ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทำให้สมาชิกในกลุ่มมีวินัยในการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ พร้อมทั้งได้ช่วยเหลืองานในกิจกรรมภายในตำบลทุ่งตำเสาและนอกพื้นที่ สมาชิกส่วนใหญ่ที่ได้ร่วมกันออกกำลังกาย มีสุขภาพที่แข็งแรง ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งรูปแบบการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลปได้รับความสนใจเฉพาะกลุ่มสตรีส่วนใหญ่
นอกจากนี้ชุมชนบ้านทุ่งเลียบยังมีกลุ่มเยาวชนและวัยทำงานมีการรวมกลุ่มตีกลองยาว แต่อุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมตีกลองยาวจำนวน ๘ ใบ ชำรุดไม่สามารถใช้การได้ ส่งผลให้การทำกิจกรรมกลุ่มหยุดชั่วคราว ซึ่งการตีกลองยาวเป็นศิลปะการละเล่นพื้นบ้านที่ประชาชนทุกกลุ่มวัยรู้จักและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมรำกลองยาวในงานประเพณีต่าง ๆ ซึ่งการรำกลองยาว ถือได้ว่าเป็นการออกกำลังกายชนิดหนึ่งที่สามารถสร้างความสนใจให้กับประชาชนได้ทุกเพศ ทุกวัย เพราะทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และความสามัคคีของคนในชุมชน ทำให้มีพื้นที่สร้างสรรค์ทางสังคม ในการพบปะ พูดคุย และทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน ได้ทุกกลุ่มวัย ได้ทั้งเรื่องความแข็งแรงของร่างกาย อารมณ์จิตใจ และด้านสังคม และเพื่อสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น
ชมรมรักษ์ทุ่งเลียบได้มีแนวคิดในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายให้กับสมาชิกในชุมชน เพื่อให้มีส่วนร่วมและมีสุขภาพที่ดีมากขึ้น ได้ประชุมหารือกันและลงความเห็นในการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนในชุมชนบ้านทุ่งเลียบ ทั้ง ๓ กลุ่มวัย คือวัยเด็กและเยาวชน วัยทำงานและวัยผู้สูงอายุ ด้วยการนำศิลปะการรำตามจังหวะกลองยาวมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ ๑ ขึ้น เพื่อขอรับงบประมาณอุดหนุจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ในการส่งเสริมและขับเคลื่อนให้ประชาชนในชุมชนบ้านทุ่งเลียบได้มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายด้วยการรำกลองยาวครอบคลุม ๓ กลุ่มวัย และเพื่อนำศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายให้แก่ประชาชนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง
- เพื่อนำศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายแก่ประชาชนในชุมชน
- เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะพื้นบ้านการรำกลองยาวของชุมชนท้องถิ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
- จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการรำกลองยาว
- จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การรำกลองยาวเพื่อออกกำลังกายและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
- กิจกรรมเสริมแรงจูงใจในการออกกำลังกายของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม บุคคลต้นแบบด้านการออกกำลังกายในชุมชน
- สรุปและรายงานผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนบ้านทุ่งเลียบมีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง
๒. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจแข็งแรงจากการรำกลองยาว มีพื้นที่สร้างสรรค์ทางสังคม ในการพบปะ และทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน
๓. ประชาชนเกิดความตระหนักถึงคุณค่าของการรำกลองยาวเพื่อออกกำลังกาย และอนุรักษ์ศิลป์พื้นบ้านภายในชุมชน ให้ยั่งยืนสืบไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
วันที่ 2 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมกรรมการก่อนเขียนโครงการ
2.ประชุมสมาชิก ก่อนเริ่มโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชุมกรรมการก่อนเขียนโครงการ
2.ประชุมสมาชิก ก่อนเริ่มโครงการ
0
0
2. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
วันที่ 2 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
0
0
3. จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการรำกลองยาว
วันที่ 2 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงทะเบียนรับเอกสาร/อาหารว่างก่อนการอบรม
พิธีเปิดโครงการ
การนำเสนอกิจกรรมกลองยาว
กิจกรรมให้ความรู้การตีกลองยาว สอน/สาธิต
กิจกรรมให้ความรู้การร้องเพลง กลองยาว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ลงทะเบียนรับเอกสาร/อาหารว่างก่อนการอบรม
พิธีเปิดโครงการ
การนำเสนอกิจกรรมกลองยาว
กิจกรรมให้ความรู้การตีกลองยาว สอน/สาธิต
กิจกรรมให้ความรู้การร้องเพลง กลองยาว
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
หลังจากได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ก็ได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการ เพื่อให้คณะกรรมการทุกท่านได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นโครงการ ต่อยอดจากโครงการบาสโลปของชมรมรักษ์ทุ่งเลียบมีโครงสร้างคณะกรรมการชัดเจน มีการแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบแต่ละฝ่ายกันอย่างชัดเจน เน้นการทำงานเป็นทีม แต่ละฝ่ายคอยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยก่อนเริ่มจะเสนอโครงการก็ได้หารือกันก่อน เพื่อเขียนโครงการ เมื่อเสนอโครงการได้รับงบสนับสนุนแล้ว ก็ร่วมด้วย ช่วยกันตั้งแต่เริ่มโครงการ ขณะทำโครงการ จนเสร็จสิ้นโครงการ ก็ยังมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีผู้นำชุมชน นายชอบ บิณกาญจณ์ นายกเทศมนตรีเมืองทุ่งตำเสา สนับสนุนค่าใช้จ่ายบางส่วนระหว่างการทำกิจกรรม ผู้ใหญ่บ้านโกศล เรื่องกูล สนับสนุนค่าใช้จ่ายบางส่วนระหว่างการทำกิจกรรม ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านผู้นำชุมชนนายกลาย บัวทอง ภูมิปัญญาท้องถิ่น นายฉิ้น ทองมา ช่วยสอนการตีกลองยาว อย่างต่อเนื่อง นางเรณ รัตนชัย แกนนำสอนรำกลองยาว นายชารี เรืองกูล รองนายกเทศมนตรีเมืองทุ่งตำเสา สนับสนุนค่าใช้จ่ายบางส่วนระหว่างการทำกิจกรรม นางประกายดาว สุนทร ประธานชมรมรักษ์ทุ่งเลียบ ผู้เสนอโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายบางส่วนระหว่างการทำกิจกรรม ท่าอากาศยานหาดใหญ่ สนับสนุนน้ำดื่มบางส่วน และมีภาคีเครือข่ายพื้นที่ใกล้เคียงตำบลควนลังมาร่วมกิจกรรมด้วยในการแสดงกลองยาวระหว่างทำโครงการ เช่นงานอุปสมบท งานทอดผ้าป่า งานทอดกฐิน วัดคลองอู่ตะเภา วัดม่วงค่อม งานลอยกระทง และงานปิดโครงการ ฯลฯ หลังจากเสร็จโครงการก็จะมีงานช่วยเหลือชุมชนต่อไป อนาคตวางแผนไว้ถ้ามีงานนอกชุมชนก็จะมีรายได้ แบ่งกับสมาชิกบางส่วนและเก็บไว้ใช้จ่ายในชมรมบางส่วน เพื่อให้เกิดขวัญกำลังใจ มีแกนนำในการ ถ่ายทอด อนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นมากขึ้น และสมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นจากรายได้หลัก อย่างเป็นธรรมอีกด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ มากกว่าร้อยละ ๖๐
0.00
2
เพื่อนำศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายแก่ประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม มากกว่าร้อยละ ๘๐
0.00
3
เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะพื้นบ้านการรำกลองยาวของชุมชนท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : มีกลุ่มแกนนำการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพชุมชนบ้านทุ่งเลียบ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง (2) เพื่อนำศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายแก่ประชาชนในชุมชน (3) เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะพื้นบ้านการรำกลองยาวของชุมชนท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน (2) ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ (3) จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการรำกลองยาว (4) จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การรำกลองยาวเพื่อออกกำลังกายและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น (5) กิจกรรมเสริมแรงจูงใจในการออกกำลังกายของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม บุคคลต้นแบบด้านการออกกำลังกายในชุมชน (6) สรุปและรายงานผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5275-(10)2-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางประกายดาว สุนทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ ”
หัวหน้าโครงการ
นางประกายดาว สุนทร
ธันวาคม 2566
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5275-(10)2-14 เลขที่ข้อตกลง 13
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กันยายน 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5275-(10)2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กันยายน 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,978.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีสุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา ซึ่งการมีสุขภาพที่ดีประชาชนจะต้องมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม การบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ เมื่อเจ็บป่วยต้องมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยเริ่มจากการดูแลสุขภาพของตนเอง มีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมตามวัย ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วันๆละ ๓๐ นาที ส่งเสริมให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดีที่สุด ห่างไกลโรค
ชมรมรักษ์ทุ่งเลียบ มีสมาชิก ๒๐ คนได้จัดกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลป เป็นประจำทุกวัน ในวันจันทร์ ถึงวันศุกร์ เวลา ๑๗.๐๐-๑๘.๐๐น. อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี ๒๕๖๒ และในปี ๒๕๖๕ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทำให้สมาชิกในกลุ่มมีวินัยในการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ พร้อมทั้งได้ช่วยเหลืองานในกิจกรรมภายในตำบลทุ่งตำเสาและนอกพื้นที่ สมาชิกส่วนใหญ่ที่ได้ร่วมกันออกกำลังกาย มีสุขภาพที่แข็งแรง ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งรูปแบบการออกกำลังกายด้วยการเต้นบาสโลปได้รับความสนใจเฉพาะกลุ่มสตรีส่วนใหญ่
นอกจากนี้ชุมชนบ้านทุ่งเลียบยังมีกลุ่มเยาวชนและวัยทำงานมีการรวมกลุ่มตีกลองยาว แต่อุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมตีกลองยาวจำนวน ๘ ใบ ชำรุดไม่สามารถใช้การได้ ส่งผลให้การทำกิจกรรมกลุ่มหยุดชั่วคราว ซึ่งการตีกลองยาวเป็นศิลปะการละเล่นพื้นบ้านที่ประชาชนทุกกลุ่มวัยรู้จักและสนใจเข้าร่วมกิจกรรมรำกลองยาวในงานประเพณีต่าง ๆ ซึ่งการรำกลองยาว ถือได้ว่าเป็นการออกกำลังกายชนิดหนึ่งที่สามารถสร้างความสนใจให้กับประชาชนได้ทุกเพศ ทุกวัย เพราะทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และความสามัคคีของคนในชุมชน ทำให้มีพื้นที่สร้างสรรค์ทางสังคม ในการพบปะ พูดคุย และทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน ได้ทุกกลุ่มวัย ได้ทั้งเรื่องความแข็งแรงของร่างกาย อารมณ์จิตใจ และด้านสังคม และเพื่อสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น
ชมรมรักษ์ทุ่งเลียบได้มีแนวคิดในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายให้กับสมาชิกในชุมชน เพื่อให้มีส่วนร่วมและมีสุขภาพที่ดีมากขึ้น ได้ประชุมหารือกันและลงความเห็นในการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนในชุมชนบ้านทุ่งเลียบ ทั้ง ๓ กลุ่มวัย คือวัยเด็กและเยาวชน วัยทำงานและวัยผู้สูงอายุ ด้วยการนำศิลปะการรำตามจังหวะกลองยาวมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ ๑ ขึ้น เพื่อขอรับงบประมาณอุดหนุจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ในการส่งเสริมและขับเคลื่อนให้ประชาชนในชุมชนบ้านทุ่งเลียบได้มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายด้วยการรำกลองยาวครอบคลุม ๓ กลุ่มวัย และเพื่อนำศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายให้แก่ประชาชนในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง
- เพื่อนำศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายแก่ประชาชนในชุมชน
- เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะพื้นบ้านการรำกลองยาวของชุมชนท้องถิ่น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
- จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการรำกลองยาว
- จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การรำกลองยาวเพื่อออกกำลังกายและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น
- กิจกรรมเสริมแรงจูงใจในการออกกำลังกายของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม บุคคลต้นแบบด้านการออกกำลังกายในชุมชน
- สรุปและรายงานผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนบ้านทุ่งเลียบมีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง
๒. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจแข็งแรงจากการรำกลองยาว มีพื้นที่สร้างสรรค์ทางสังคม ในการพบปะ และทำกิจกรรมร่วมกันของคนในชุมชน
๓. ประชาชนเกิดความตระหนักถึงคุณค่าของการรำกลองยาวเพื่อออกกำลังกาย และอนุรักษ์ศิลป์พื้นบ้านภายในชุมชน ให้ยั่งยืนสืบไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน |
||
วันที่ 2 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมกรรมการก่อนเขียนโครงการ 2.ประชุมสมาชิก ก่อนเริ่มโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชุมกรรมการก่อนเขียนโครงการ 2.ประชุมสมาชิก ก่อนเริ่มโครงการ
|
0 | 0 |
2. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ |
||
วันที่ 2 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
|
0 | 0 |
3. จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการรำกลองยาว |
||
วันที่ 2 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงทะเบียนรับเอกสาร/อาหารว่างก่อนการอบรม พิธีเปิดโครงการ การนำเสนอกิจกรรมกลองยาว กิจกรรมให้ความรู้การตีกลองยาว สอน/สาธิต กิจกรรมให้ความรู้การร้องเพลง กลองยาว ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นลงทะเบียนรับเอกสาร/อาหารว่างก่อนการอบรม พิธีเปิดโครงการ การนำเสนอกิจกรรมกลองยาว กิจกรรมให้ความรู้การตีกลองยาว สอน/สาธิต กิจกรรมให้ความรู้การร้องเพลง กลองยาว
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
หลังจากได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ก็ได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการ เพื่อให้คณะกรรมการทุกท่านได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นโครงการ ต่อยอดจากโครงการบาสโลปของชมรมรักษ์ทุ่งเลียบมีโครงสร้างคณะกรรมการชัดเจน มีการแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบแต่ละฝ่ายกันอย่างชัดเจน เน้นการทำงานเป็นทีม แต่ละฝ่ายคอยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยก่อนเริ่มจะเสนอโครงการก็ได้หารือกันก่อน เพื่อเขียนโครงการ เมื่อเสนอโครงการได้รับงบสนับสนุนแล้ว ก็ร่วมด้วย ช่วยกันตั้งแต่เริ่มโครงการ ขณะทำโครงการ จนเสร็จสิ้นโครงการ ก็ยังมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีผู้นำชุมชน นายชอบ บิณกาญจณ์ นายกเทศมนตรีเมืองทุ่งตำเสา สนับสนุนค่าใช้จ่ายบางส่วนระหว่างการทำกิจกรรม ผู้ใหญ่บ้านโกศล เรื่องกูล สนับสนุนค่าใช้จ่ายบางส่วนระหว่างการทำกิจกรรม ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านผู้นำชุมชนนายกลาย บัวทอง ภูมิปัญญาท้องถิ่น นายฉิ้น ทองมา ช่วยสอนการตีกลองยาว อย่างต่อเนื่อง นางเรณ รัตนชัย แกนนำสอนรำกลองยาว นายชารี เรืองกูล รองนายกเทศมนตรีเมืองทุ่งตำเสา สนับสนุนค่าใช้จ่ายบางส่วนระหว่างการทำกิจกรรม นางประกายดาว สุนทร ประธานชมรมรักษ์ทุ่งเลียบ ผู้เสนอโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายบางส่วนระหว่างการทำกิจกรรม ท่าอากาศยานหาดใหญ่ สนับสนุนน้ำดื่มบางส่วน และมีภาคีเครือข่ายพื้นที่ใกล้เคียงตำบลควนลังมาร่วมกิจกรรมด้วยในการแสดงกลองยาวระหว่างทำโครงการ เช่นงานอุปสมบท งานทอดผ้าป่า งานทอดกฐิน วัดคลองอู่ตะเภา วัดม่วงค่อม งานลอยกระทง และงานปิดโครงการ ฯลฯ หลังจากเสร็จโครงการก็จะมีงานช่วยเหลือชุมชนต่อไป อนาคตวางแผนไว้ถ้ามีงานนอกชุมชนก็จะมีรายได้ แบ่งกับสมาชิกบางส่วนและเก็บไว้ใช้จ่ายในชมรมบางส่วน เพื่อให้เกิดขวัญกำลังใจ มีแกนนำในการ ถ่ายทอด อนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นมากขึ้น และสมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นจากรายได้หลัก อย่างเป็นธรรมอีกด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ มากกว่าร้อยละ ๖๐ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อนำศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายแก่ประชาชนในชุมชน ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม มากกว่าร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะพื้นบ้านการรำกลองยาวของชุมชนท้องถิ่น ตัวชี้วัด : มีกลุ่มแกนนำการรำกลองยาวเพื่อสุขภาพชุมชนบ้านทุ่งเลียบ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเป็นประจำ สม่ำเสมอและต่อเนื่อง (2) เพื่อนำศิลปะการละเล่นพื้นบ้านมาพัฒนาและประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบของการออกกำลังกายแก่ประชาชนในชุมชน (3) เพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปะพื้นบ้านการรำกลองยาวของชุมชนท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน (2) ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ (3) จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยการรำกลองยาว (4) จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การรำกลองยาวเพื่อออกกำลังกายและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น (5) กิจกรรมเสริมแรงจูงใจในการออกกำลังกายของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม บุคคลต้นแบบด้านการออกกำลังกายในชุมชน (6) สรุปและรายงานผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายด้วยการรำกลองยาว หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งเลียบ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5275-(10)2-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางประกายดาว สุนทร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......