กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการสัญญาณเตือนภัย เฝ้าระวังโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางปานิมาส รุยัน

ชื่อโครงการ โครงการสัญญาณเตือนภัย เฝ้าระวังโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567-L3351-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสัญญาณเตือนภัย เฝ้าระวังโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสัญญาณเตือนภัย เฝ้าระวังโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสัญญาณเตือนภัย เฝ้าระวังโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3351-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละปีละปีมีผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายปัจจัยคือ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ เพศ และปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหาร การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือด การเจ็บป่วยฉุกเฉินเป็นภาวะที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้าและเป็นภาวะวิกฤตของแต่ละบุคคล หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงทีและเหมาะสมอาจเกิดการสูญเสียชีวิต รวมทั้งเกิดความบกพร่องในการทำงานของอวัยวะที่สำคัญ สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองและโรคหัวใจขาดเลือด ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย พบว่าปัจจัยที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรค ได้แก่ การผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีระดับความดันโลหิตมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีระดับน้ำตาลสะสมมากกว่าร้อยละ 7 จากสถานการณ์ 3 ปีย้อนหลัง ปี 2564-2566 พบว่า มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 35 รายและมีผู้ป่วยโรคหัวใจขาดเลือด จำนวน 4 รายตั้งแต่ปี 2564-2566 มีผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง จำนวน 3, 2, 3 รายตามลำดับ แต่ถ้าหากผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินเหล่านี้ได้รับการช่วยเหลือได้รวดเร็วทันเวลา จะสามารถช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ถึงร้อยละ 30 และลดความพิการที่อาจเกิดตามมาภายหลังได้ หากได้รับการนำส่งโรงพยาบาลอย่างถูกวิธี และได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายในเวลา 4.5 ชั่วโมง นับจากเกิดเหตุ จากสถานการณ์ดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าจำนวนการป่วย และการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นภัยคุกคามทางด้านสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการสัญญาณเตือนภัย เฝ้าระวังโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อสร้างความรอบรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพนำไปสู่การลดจำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ ลดความพิการและเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
  2. เพื่อลดผู้ป่วยเรื้อรังที่ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ
  3. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน (2 หมอ)
  4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ติดตามผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองลดลงกว่าปีที่แล้ว
  • กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงป่วยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองลดลง
62.56 58.00

 

2 เพื่อลดผู้ป่วยเรื้อรังที่ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเรื้อรังที่ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองลดลง
6.97 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อลดผู้ป่วยเรื้อรังที่ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ (2) อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ (3) ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน (2 หมอ) (4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ติดตามผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสัญญาณเตือนภัย เฝ้าระวังโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2567-L3351-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปานิมาส รุยัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด