กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการส่งเสริมการบริโภคอย่างฉลาด ชะลอไตในเด็ก ”

ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนานิง ระสูมิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการบริโภคอย่างฉลาด ชะลอไตในเด็ก

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 16/2566 เลขที่ข้อตกลง 14/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กันยายน 2566 ถึง 31 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการบริโภคอย่างฉลาด ชะลอไตในเด็ก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการบริโภคอย่างฉลาด ชะลอไตในเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการบริโภคอย่างฉลาด ชะลอไตในเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 16/2566 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 กันยายน 2566 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease, CKD) เป็นปัญหาสาธารณสุขระดับโลกรวมถึงประเทศไทย ภาวะไตเรื้อรังมักมีการดำเนินโรคไปสู่โรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-Stage Renal Disease,ESRD) ที่จำเป็นต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตหรือการปลูกถ่ายไต และยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ทำให้สูญเสียสุขภาวะและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ประกอบกับสถานการณ์ปัญหาของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในประเทศไทยในปัจจุบันมีจำนวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจต่อตัวผู้ป่วยเองและต่อประเทศไทยในอนาคต
อุบัติการณ์ของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังมีแนวโน้มที่เพิ่มมากขึ้นทั่วโลก สาเหตุโรคไตเรื้อรังที่พบบ่อยในเด็ก ได้แก่ ความผิดปกติแต่กำเนิดของไตและของทางเดินปัสสาวะ โรคไตชนิดที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม พฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ไม่เหมาะสมในปัจจุบันของเด็กอาจส่งผลให้เกิดปัญหาทางสุขภาพ รวมถึงโรคไตได้ในอนาคต เช่น ทำให้เกิดโรคอ้วน ส่งผลให้เกิดโรคไตเรื้อรังตามมาได้ ซึ่งอาจจะพัฒนาต่อไปกลายเป็นไตวายระยะสุดท้ายได้
เด็กที่มีโรคไตอาจมีอาการแสดงต่างๆให้สังเกตได้ เช่น มีความผิดปกติของปัสสาวะ เช่น สีผิดปกติ สีแดงหรือสีน้ำล้างเนื้อ มีปริมาณปัสสาวะน้อยหรือมากเกินปกติ มีการขับถ่ายปัสสาวะบ่อยหรือน้อยครั้งเกินปกติ ต้องเบ่งเวลาถ่ายปัสสาวะ มีปัสสาวะหยดตลอดเวลา หรือมีอาการของการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ มีท้องโตจากไตหรือระบบทางเดินปัสสาวะที่ขยายขนาดผิดปกติ มีอวัยวะเพศภายนอกที่ผิดรูป ความดันเลือดสูงจากโรคไตอักเสบ ไตวาย หรือหลอดเลือดไตมีการตีบตัน การเจริญเติบโตช้าจากการทำงานของไตที่เสื่อมลง กล้ามเนื้ออ่อนแรงจากการทำงานของไตที่ผิดปกติในการปรับสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย สิ่งที่ควรระวังสำหรับโรคไตในเด็ก คือภาวะอ้วนในเด็กซึ่งมาจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง ปัจจุบันพบว่าปัญหาโรคไตในเด็กคือการทานอาหารของเด็ก ที่มีพฤติกรรมไม่ดีต่อสุขภาพนัก เช่น การรับประทานของมัน ของเค็ม หรือของหวานจัดเกินไป การกินอาหารประเภทแป้ง การมีกิจกรรมประจำวันส่วนใหญ่ที่ไม่ได้ใช้พลังงาน การออกกำลังกายที่น้อยเกินไป ทำให้อ้วนและเกิดความดันโลหิตสูง นำมาซึ่งภาวะไตเสื่อม สาเหตุนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนวิธีการเลี้ยงดูและการบริโภคอาหาร


การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไตเรื้อรังและชะลอความเสื่อมของไต ในกลุ่มเด็ก เยาวชน จึงเป็นเรื่องที่สำคัญโดยเฉพาะการค้นหา คัดกรอง เพื่อการเฝ้าระวัง รวมถึงการให้ความรู้และคำแนะนำเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การกระตุ้นให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพในการดูแลตนเองและดูแลผู้อื่น จนทำให้จำนวนผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังมีจำนวนลดลงได้ในอนาคต
  ดังนั้น เพื่อให้เกิดการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคไตและโรคเรื้อรังในกลุ่มเด็ก เยาวชน เกิดการชะลอการเสื่อมของไต ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านกีเย๊าะ มีความตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการส่งเสริมการบริโภคอย่างฉลาด ชะลอไตในเด็กและเยาวชน ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันเด็ก เยาวชน จากโรคไตและโรคเรื้อรังอื่น
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศและยาเสพติด
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ เพศศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและภัยจากยาเสพติด
    2.กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศและยาเสพติด
    3.กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันเด็ก เยาวชน จากโรคไตและโรคเรื้อรังอื่น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศและยาเสพติด
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันเด็ก เยาวชน จากโรคไตและโรคเรื้อรังอื่น (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศและยาเสพติด (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการบริโภคอย่างฉลาด ชะลอไตในเด็ก จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 16/2566

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนานิง ระสูมิง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด