กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นายพรชัย จันธิปะ




ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L8008-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L8008-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 310,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (The Community Health Security Fund)"กองทุนสุขภาพตำบล"นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน ตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.2561 และประกาศฯ ฉบับที่ 4 พ.ศ.2565 ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้บุคคลที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมี ส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้ (1) เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขโดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น (2) เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชน หรือหน่วยงานอื่นได้ดำเนินงานตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคให้แก่สมาชิกหรือประชาชนในพื้นที่และกรณีมีความจำเป็นต้องจัดซื้อวัสดุที่มีลักษณะเป็นครุภัณฑ์ให้สนับสนุนได้ในวงเงินไม่เกิน 10,000 บาทต่อโครงการวัสดุที่มีลักษณะเป็นครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาของกลุ่มหรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่น ที่ได้รับการสนับสนุนนั้นๆ
(3) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือศูนย์ชื่ออื่นหรือหน่วยงานที่ดูแล ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและดูแลเด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ หรือศูนย์ชื่ออื่นหรือหน่วยงานที่ดูแลดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการในชุมชน ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักงานกำหนด (4) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 15ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ ละปีงบประมาณนั้น และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน 20,000 บาทต่อหน่วย โดยการจัดซื้อจัดจ้างให้ใช้ระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยอนุโลม และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ (5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสม และทันต่อสถานการณ์ได้
(6) ใช้จ่ายตามมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในพื้นที่ โดยมีกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล มีบทบาทและหน้าที่ โดยสังเขปดังนี้ 1.การจัดทำและบริหารแผนการเงินกองทุนฯ ประจำปี
2.สนับสนุนหรือประสานให้หน่วยบริการ หน่วยงาน องค์กร หรือกลุ่มประชาชน จัดบริการหรือกิจกรรม หรือกระบวนการ เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นเข้าถึงบริการสาธารณสุขอย่างทั่วถึง 3.การสนับสนุนค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม 4.การทำนิติกรรมและบริหารสัญญาหรือข้อตกลง 5.การจัดทำบัญชีและรายงานทางการเงิน
6.การติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานกองทุนฯ 7.งานเลขานุการ จัดประชุมคณะกรรมบริหารการกองทุนและการพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดสัดส่วนเงินคงเหลือสะสม(ยกมาจากปีผ่านมา/รายรับแต่ละปี) ลง
  2. เพื่อเพิ่มสัดส่วนคณะกรรมการมีความรู้เรื่องประกาศฯ และการดำเนินงานกองทุนขึ้น
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน กลุ่ม หน่วยงานต่างๆ เข้าถึงงบประมาณกองทุนฯ
  4. เพื่อเพิ่มการประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเชิงกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และแผนสุขภาพกองทุน ประจำปีงบประมาณ 2568
  2. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 5/2566
  3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน / อนุกรรมการกองทุน / เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกองทุนฯ
  4. จัดซื้อครุภัณฑ์เพื่อการบริหารจัดการกองทุนฯ
  5. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน /ค่าจ้างถ่ายเอกสารเข้าเล่มที่ใช้ในการดำเนินงานกองทุนฯ
  6. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 8/2566
  7. พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับทุน
  8. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2566
  9. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2567
  10. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2567
  11. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2567
  12. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2567
  13. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/2567
  14. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 4/2567
  15. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/2567
  16. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2567
  17. จัดทำวารสาร สื่อประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานกองทุนฯ
  18. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2567
  19. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567
  20. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2/2567
  21. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 6/2567

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 45
ตัวแทน กลุ่ม องค์กร หน่วยงาน 150

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่สามารถจัดบริการสุขภาพด้วยตนเองได้
  2. ประชาชนเข้าถึงงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
    3.มีการใช้จ่ายงบประมาณกองทุนฯอย่างน้อย ร้อยละ 80
    4.มีการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นได้อย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อวัสดุสำนักงาน /ค่าจ้างถ่ายเอกสารเข้าเล่มที่ใช้ในการดำเนินงานกองทุนฯ

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียมเอกสารการประชุม ได้แก่ วาระการประชุม รายงานการประชุม โครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณ ระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความพร้อมของเอกสารในการประชุมอนุมัติในแต่ละครั้ง และชี้แจงข้อมูลต่างๆ ให้แก่คณะกรรมการกองทุนฯ

 

0 0

2. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 5/2566

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 10  โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พิจารณากลั่นกรองโครงการ 10 โครงการ
อนุกรรมการเข้าร่วม จำนวน 7 คน เจ้าหน้าที่ 3 คน

 

0 0

3. จัดซื้อครุภัณฑ์เพื่อการบริหารจัดการกองทุนฯ

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อโน๊ตบุ๊คจำนวน 1 เครื่อง และชุดลำโพงเคลื่อนที่ จำนวน 1 ตัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คจำนวน 1 เครื่อง  มีหน่วยประเมินผลกลางไม่น้อยกว่า 4 แกนหลัก และ 8 แกนเสมือน รายละเอียดตามมาตรฐานคอมพิวเตอร์ปี 2566 เป็นเงิน 24,000 บาท ชุดลำโพงเคลื่อนที่ จำนวน 1 ตัว เป็นเงิน 8,500 บาท

 

0 0

4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 8/2566

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.รายงานสถานะการเงินกองทุน โดยเจ้าหน้าที่การเงินกองทุนฯ 2.รายงานความคืบหน้าการติดตามโครงการที่ได้รับงบสนับสนุน ประจำปี 2566 3.แจ้งรายชื่อคณะอนุกรรมการ ใหม่ จำนวน  2 ท่าน 4.โครงการที่ขอขยายเวลาดำเนินโครงการมายังประธานกรรมการกองทุนฯ
- โครงการกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน
- โครงการเรื่องเพศคุยได้ เข้าใจวัยรุ่น
- โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กวัยเรียนตำบลพิมาน
- โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยผู้เรียน โรงเรียนพิมานพิทยาสรรค์
- โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กวัยเรียนตำบลพิมาน
- โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงประจำปีงบประมาณ 2566

รายงานการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 7/2566 วันที่ 27 กันยายน 2566
เรื่องเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 10 โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อนุมัติ จำนวน 10 โครงการ

 

0 0

5. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2567

วันที่ 17 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 8 โครงการ  โดยคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนโครงการที่ผ่านการกลั่นกรอง จำนวน 8 โครงการ

 

0 0

6. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2567

วันที่ 17 มกราคม 2567 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.สรุปผลการดำเนินงาน LTC ประจำปี 2566
2. รับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว
3. ขออนุมัติโครงการและแผนการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 64 ราย งบประมาณทั้งสิ้น 384,000 บาท ไดแก่ ค่าจัดซื้อผ้าอ้อมสำเร็จรูป จำนวน 12 เดือน คิดเป็น 199,500 บาท  ค่าอาหารหรือไข่ไก่ให้ผู้ป่วย คิดเป็น 15,360 บาท  ค่าอุปกรณ์ทำแผล คิดเป็น 380 บาท ค่าประเมิน ADL และค่าเขียน caerplan คิดเป็น 12,160 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อนุมัติโครงการและแผนการดูแลผู้ป่วยระยะพึ่งพิง งบประมาณ 384,000 บาท

 

0 0

7. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2567

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.1 รายงานสถานะการเงินกองทุน โดยเจ้าหน้าที่การเงินกองทุนฯ 1.2 สาระน่ารู้ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ 1.3 แจ้งกำหนดการจัดกิจกรรมของกองทุนฯ - กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการบนเว็บไซค์และบันทึกกิจกรรม โครงการ - เร่งติดตามโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2567 ให้ แล้วเสร็จ ภายในเดือน สิงหาคม 2567

ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม รายงานการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ ๘/2566 วันที่ 21 พฤศจิกายน 2566

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณาอนุมัติ ๓.๑  พิจารณาอนุมัติโครงการ จำนวน 8  โครงการ

1 โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสตูล รุ่นที่ 6 ปีงบประมาณ 2567 278,966 ชมรมผู้สูงอายุ ทม สตูล 2 โครงการส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกายลีลาเพื่อสุขภาพ 22,810
3 โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ชีวียืนยาว 23,675 ชมรมไทเก๊กจังหวัดสตูล 4 โครงการแอโรบิคตำบลพิมาน 80,475 ชมรมแอโรบิคชุมชนห้องสมุด 5 โครงการอบรมเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายโดยใช้ทักษะของกีฬาฟุตบอล 39,400 ชมรมบาสเกตบอล 6 โครงการหนูน้อยสุขภาพดีเริ่มต้นที่นมแม่ 25,200 ฝ่ายการพยาบาล รพ.สตูล 7 โครงการส่งเสริมผู้สูงวัย ห่างไกลการพลัดตกหกล้ม 2567 12,100 ศูนย์สุขภาพชุมชนศรีพิมาน 8 โครงการสนับสนุนผ้าอ้อมผู้ใหญ่ สำหรับบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิงปละบุคคลที่มีปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจาระไม่ได้ 98,780
รวม 581,406

ระเบียบวาระที่ 4    เรื่องอื่นๆ 4.1 เพื่อพิจารณามอบครุภัณฑ์กองทุนฯให้แก่เทศบาลเมืองสตูล ได้แก่ คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค       ลำโพง 4.2 รายงานผลการพิจารณาอนุมัติโครงการ LTC งบประมาณ 384,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อนุมัติโครงการทั้งหมด 8 โครงการ รายละเอียดตามวาระการประชุม

 

0 0

8. พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับทุน

วันที่ 27 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เชิญตัวแทนจาก 15 กลุ่ม เข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการบนเว็บไซค์ ฯ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนเทศบาล 2
1.สถานพยาบาล เรือนจำจังหวัดสตูล 2.อสม. ซอยปลาเค็ม (โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาชาวบ้านเพื่อดูแลสุขภาพเน้นผู้สูงอายุและวัยทำงาน) 3.อสม. ชุมชนเมืองพิมาน 4.อสม. ชุมชนชนาธิป (โครงการชุมชนปอดใส ไร้ควันบุหรี่) 5.อสม. ชุมชนสี่แยกคอกเป็ด (โครงการชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้สูงอายุ) 6.อสม.  และแกนนำผู้สูงอายุ ชุมชนสันตยาราม (โครงการชุมชนร่วมใจห่วงใยผู้สูงอายุ) 7.คณะกรรมการ อสม. ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก (โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทอง) 8.อสม. ชุมชนห้องสมุด (โครงการปิ่นโตสุขภาพ by ครัวสุขภาพดีกับ อสม.ชุมชนห้องสมุด) 9.อสม. ชุมชนซอยปลาเค็ม (โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาชาวบ้านเพื่อการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อข้อเข่า) 10.อสม. ชุมชนท่าไม้ไผ่ (โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาชาวบ้านเพื่อการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อข้อเข่า) 11.โต๊ะอิหม่ามมัสยิดกมาลุสอิสลาม ชุมชนโคกพะยอม (โครงการมัสยิดกมาลุสอิสลาม ต่อต้านยาเสพติด ) 12.โต๊ะอิหม่ามมัสยิดบารากัตบาตา (โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพ มัสยิดบารากัตบาตา) 13.โต๊ะอิหม่ามมัสยิดเราดอดุลญันนะห์ (บ้านหัวทาง) (โครงการโภชนาการเด็กวัยเรียนและผู้สูงอายุ) 14.ประธานชุมรมแอโรบิคห้องสมุด 15.ประธานโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสตูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมพัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการ จำนวน 30 คน เขียนโครงการตามแผนงานกองทุนฯ

 

0 0

9. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/2567

วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 11 โครงการ  คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ จำนวน 8 คน ผู้เข้าร่วม 35 คน  เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนฯ จำนวน 3 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แก้ไข

 

0 0

10. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2567

วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม รายงานการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการครั้งที่  1/2567                               วันที่ 17 มกราคม 2567
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณากลั่นกรองโครงการ

ลำดับที่ โครงการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ 1 โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดีด้วยวิธีแอโรบิคขั้นพื้นฐาน ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา เทศบาลเมืองสตูล 26,000ชมรมแอโรบิค ผสมไม้พลอง 2 โครงการปิ่นโตสุขภาพ บาย ครัวสุขภาพดี กับ อสม.ชุมชนห้องสมุด 32,255 อสม. ชุมชนห้องสมุด 3 โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก ประจำปีงบประมาณ 2567 18,220 อสม. ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก 4 โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทอง ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก 1๕,๗๐๐ อสม. ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก 5 โครงการส่งเสริมการทานตามหลักโภชนาการและการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน ชุมชนเมืองพิมาน 15,000 อสม.ชุมชนเมืองพิมาน 6 โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจในผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดสตูล 20,554 เรือนจำจังหวัดสตูล 7 โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดสตูล9,500 เรือนจำจังหวัดสตูล 8 โครงการส่งเสริมชุมชนลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 67 39790 กลุ่มลดละเลิกเหล้าตำบลพิมาน 9 โครงการวัยเรียนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา 27860 กองสาธารณสุข 10. โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กวัยเรียนตำบลพิมาน 30453 กองสาธารณสุข รวม 235,332 หมายเหตุ งบประมาณอาจมีการเปลี่ยนแปลง

ระเบียบวาระที่ 4    เรื่องอื่นๆ แก้ไขโครงการบนเว็บไซต์กองทุนฯ ให้เรียบร้อย ภายใน วันที่ 24 เมษายน 2567 เวลา 12.30 น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อนุมัติโครงการ ทั้งหมด 10 โครงการ

 

0 0

11. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 2/2567

วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 1.2 รายงานการรับ จ่าย และเงินคงเหลือ ประจำเดือนพฤษภาคม 2567 ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม รายงานการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2567                 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2567
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อพิจารณา 3.1 เพิ่มเติมแผนสุขภาพกองทุนฯ ดังนี้
- โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดีด้วยวิธีแอโรบิคขั้นพื้นฐาน ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา
                      เทศบาลเมืองสตูล 10(2) - โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง ชุมชนทุ่งเฉลิม   ตะวันออก ประจำปีงบประมาณ 2567 10(2) - โครงการส่งเสริมการทานตามหลักโภชนาการและการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน ชุมชน                       เมืองพิมาน 10(2) - โครงการคัดกรองสายตาผู้สูงอายุเรือนจำจังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 10(๖) - โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต                       สูงในผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดสตูล 10(๒)                     - โครงการส่งเสริมชุมชนลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 67 10(๒) 3.3 อนุมัติโครงการ จำนวน 11 โครงการ ดังนี้
ลำ ดับที่ โครงการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ 1 โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพดีด้วยวิธีแอโรบิคขั้นพื้นฐาน ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา เทศบาลเมืองสตูล 25,700ชมรมแอโรบิค ผสมไม้พลอง 2 โครงการปิ่นโตสุขภาพ บาย ครัวสุขภาพดี กับ อสม.ชุมชนห้องสมุด 32,135 อสม. ชุมชนห้องสมุด 3 โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก ประจำปีงบประมาณ 2567 18,220 อสม. ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก 4 โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยทอง ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก 15,375 อสม. ชุมชนทุ่งเฉลิมตะวันออก 5 โครงการส่งเสริมการทานตามหลักโภชนาการและการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน ชุมชนเมืองพิมาน 14,050 อสม.ชุมชนเมืองพิมาน 6 โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจในผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดสตูล (Happy Place Happy mind) 19,949 เรือนจำจังหวัดสตูล 7 โครงการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในผู้ต้องขังเรือนจำจังหวัดสตูล 23,375 เรือนจำจังหวัดสตูล 8 โครงการคัดกรองสายตาผู้สูงอายุเรือนจำจังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2567 7,540 เรือนจำจังหวัดสตูล 9 โครงการส่งเสริมชุมชนลดละเลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตำบลพิมาน ปี 67 39,750 กลุ่มลดละเลิกเหล้า ตำบลพิมาน 10. โครงการวัยเรียนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา 27,860 กองสาธารณสุข 11 โครงการส่งเสริมอนามัยเด็กวัยเรียนตำบลพิมาน 30,953 กองสาธารณสุข รวม 254,897

ระเบียบวาระที่ 4  เรื่องอื่นๆ
  4.1 แจ้งคณะอนุกรรมการประเมินติดตามโครงการ ลงประเมินโครงการตามที่แผนที่กำหนด           4.2 รายงานผลการลงพื้นที่สุ่มเก็บข้อมูลสุขภาพกองทุนฯ จำนวน 20 ชุมชน เก็บข้อมูลรายครัวเรือน จำนวน 100 ครัวเรือน เก็บข้อมูลแยกตามกลุ่มอายุ จำนวน 200 คน เก็บข้อมูลรายตำบล 1 ชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อนุมัติโครงการทั้งหมด 11 โครงการ

 

0 0

12. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/2567

วันที่ 28 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลโครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณกองทุนฯ  รับผิดชอบ 11 โครงการ ทีมที่ 1 ได้แก่
1. นางสาวจิราภรณ์  เอี้ยวเหล็ก ประธานอนุกรรมการ 2. นางอรัตนยา        โอสถาน        อนุกรรมการ 3. นางจุรี              กาเซ็ม อนุกรรมการ 4. นางมาลี            สุขพิทักษ์ อนุกรรมการ 5. นางสาวพัฒนาวดี    หลีนิ่ง          อนุกรรมการ ทีมที่ 2 รับผิดชอบ 10 โครงการ
1. นางเปรมยุดา      พัฒชนะ ประธานอนุกรรมการ 2. นางสาวสมานนท์  พฤกษ์พิเนต    อนุกรรมการ 3. นางนูรดีนี          หมีดเส็น        อนุกรรมการ 4. นางสุนันทา        สมุทรสารัญ    อนุกรรมการ
5. นายวัลลาภ        ปะลาวัน        อนุกรรมการ ทีมที่ 3 รับผิดชอบ 9 โครงการ 1. นางจุฑามณี        บิลังโหลด        ประธานอนุกรรมการ 2. นายประยุทธ      ยอดสนิท        อนุกรรมการ 3. นายอดิศร          ภักดี อนุกรรมการ 4. นางสาวอามีนา    สุปราณี          อนุกรรมการ 5. นางสาวจิราพร    หวานแก้ว        อนุกรรมการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะอนุกรรมการเข้าประชุม จำนวน 9 คน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกองทุน จำนวน 4 คน

 

0 0

13. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567

วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พิจารณากลั่นกรอง 10 โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รออนุมัติจากคณะกรรมการกองทุน

 

0 0

14. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2567

วันที่ 15 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมพิจารณาอนุมัติโครงการทั้งหมด 10 โครงการ ได้แก่
โครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2567
โครงการรู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพกับ อสม อย ชุมชนจงหัว
โครงการจัดการขยะด้วยพลังชุมชนจงหัว
โครงการ save heart เพื่อคุณออกกำลังกายอย่างปลอดภัย ชมรมแอโรบิค ลานวัฒนธรรม ประจำปี 2567
โครงการชุมชนร่วมใจห่วงใยสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ชุมชนสี่แยกคอกเป็ด ต.พิมาน อ.เมือง จ.สตูล ประจำปี 2567
โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป โดย อสม. ชุมชนโคกพยอม
โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป โดย อสม. ชุมชนบ้านหัวทาง
โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยอสม.ชุมชนคลองเส็นเต็น
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก ๓อ ๒ส เพื่อป้องกันโรคเรื้อรังในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดย อสม.ชุมชนเทศบาล 4
โครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป โดย อสม. ชุมชนท่านายเนาว์
2 ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนยุทะสาสตร์กองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่เข้าร่วม

 

0 0

15. กิจกรรมประชุมเชิงกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และแผนสุขภาพกองทุน ประจำปีงบประมาณ 2568

วันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลประจำปีงบประมาณ 2567 ระหว่างวันที่ 28 -29  สิงหาคม 2567  ณ โรงแรม SeeSea resort อำเภอละงู จังหวัดสตูล วันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ 08.30- 09.00 น. ลงทะเบียนประชุมเชิงปฏิบัติการ พิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ กล่าวรายงานโดย นายสมศักดิ์ เหมรา  ตำแหน่งผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม และกล่าวเปิดโดย นายพรชัย  กู้สกุล ตำแหน่ง ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล เจ้าหน้าที่กองทุนฯ 09.00-10.30 น. - ภาพรวมของการบริหารและการวางแผนยุทธศาสตร์                         - การเก็บข้อมูลปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์องค์กรและการนำข้อมูลมาใช้ รศ.ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์ 10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10.45-12.00 น. Workshop: กรณีศึกษา การวิเคราะห์แนวโน้มองค์กร ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอกองค์กร การเก็บข้อมูล
                        รศ.ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์ 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. - การทบทวนวิสัยทัศน์ ด้วย AI                         - พันธกิจ และเป้าประสงค์ขององค์กร                         - กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์  กลยุทธ์                         - การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ                         - แนวทางในการควบคุมติดตามแผน รศ.ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์ 14.30-14.45 น.   พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
14.45-16.00 น. - การประเมินและวัดผลแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร                         - การกำหนดตัวชี้วัดที่ดีในการประเมินประสิทธิภาพขององค์กร รศ.ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์ 16.00-16.30 น. ตอบข้อซักถาม
16.30-18.30 น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
18.30-19.30 น. รับประทานอาหารเย็น
19.30-21.30 น. ประชุมตามกลุ่มเพื่อร่วมกำหนดตัวชี้วัดที่ดีในการประเมินประสิทธิภาพขององค์กร(ต่อ)เจ้าหน้าที่กองทุนฯ วันที่ 29 สิงหาคม 2567 เวลา กิจกรรม ผู้รับผิชอบ 08.30- 09.00 น. กิจกรรมละลายพฤติกรรม เจ้าหน้าที่กองทุนฯ 09.00-09.30 น. การนำแผนเข้าสู่การปฏิบัติ รศ.ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์ 09.30-10.30 น. Objective Key Result (OKR) รศ.ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์ 10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.45-12.00 น. Workshop: กรณีศึกษา OKR / ตอบข้อซักถาม รศ.ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์ 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. ทำแบบประเมินความพึงพอใจ /แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจ เจ้าหน้าที่กองทุนฯ

หมายเหตุ ตารางเวลาเปลี่ยนตามความเหมาะสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วิสัยทัศน์กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล “กองทุนหลักประกันสุขภาพที่เข้มแข็ง โปร่งใส ใช้เทคโนโลยี และมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน” วิสัยทัศน์นี้เน้นการพัฒนาความเข้มแข็งของกองทุนผ่านการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย การบริหารจัดการที่โปร่งใส และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานต่างๆ ในการดำเนินงาน การวิเคราะห์ SWOT กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล คือ
  การวิเคราะห์องค์กรโดยการมีส่วนร่วมจากทุกคนปราศจากแรงกดดันจากผู้เกี่ยวข้อง เพื่อค้นหาข้อเท็จจริงสำหรับดำเนินการไปข้างหน้าต่อไป ดังนี้
1.จุดแข็งภายในกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล S1 ความพร้อมและศักยภาพของเจ้าหน้าที่ S2 ความสามัคคีและความตั้งใจในการทำงาน S3 คณะกรรมการมาจากหลากหลายอาชีพ S4 การบริหารจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ S5 การนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการบริหารงานกองทุนฯ S6 มีเจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษาและให้การช่วยเหลือ 2.ข้อจำกัด จุดด้อยภายในกองทุนหลักประกันสุขภาพ w1 การประสานงานยังไม่ทั่วถึงระหว่างกองทุนฯและองค์กร ภาคกลุ่มประชาชนต่างๆ w2 ความไม่ชัดเจนในขั้นตอนและกระบวนการขอรับงบประมาณกองทุนฯ w3 ความเข้าใจที่ไม่เพียงพอของคณะกรรมการกองทุนฯในการบริหารงบประมาณและความเข้าใจของ
      ผู้ขอรับทุนฯในการเขียนโครงการด้านสุขภาพ w4 การบริหารจัดการเวลาในการพิจารณาอนุมัติโครงการล่าช้าต้องรอพิจารณาหลายโครงการรวมกัน 3.โอกาสในการพัฒนา ปัจจัยภายนอกที่เอื้อต่อการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ O1 มีนโยบายและระเบียบการการดำเนินงานจากสปสช. ที่ชัดเจนสนับสนุนและเอื้อต่อการขับเคลื่อน
O2 การดำเนินงานกองทุนฯเป็นการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและการสร้างเครือข่ายการ     ทำงานด้านสุขภาพในระดับท้องถิ่น
O3 หน่วยงาน ภาคส่วนต่าง ๆ ภาคประชาชนสามารถเข้าถึงงบประมาณได้ง่าย
O4 กองทุนหลักประกันสุขภาพใช้เทคโนโลยีเก็บฐานข้อมูล ส่งข่าวสารผ่านเว็บไซค์ และเขียนโครงการบนเว็บไซต์ 4.อุปสรรค ปัญหาภายนอก ที่ส่งผลต่อการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล T1 ขาดความร่วมมือจากชุมชนในการขับเคลื่อนประเด็นด้านสุขภาพ
T2 ประชาชนขาดความเข้าใจในการขับเคลื่อนงานสุขภาพภาคประชาชน T3 กองทุนฯมีข้อจำกัดในการสนับสนุนการจัดซื้ออุปกรณ์ในกลุ่มภาคประชาชน จากการวิเคราะห์องค์กร (กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล)  พบว่า กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล มีสถานการณ์แบบดารา (start) ใช้กลยุทธ์เชิงรุก SO ใช้จุดแข็งเพื่อสร้างโอกาส

ยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ยุทธศาสตร์ที่ 1 จัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาบริการเชิงรุกและฟื้นฟู                             สมรรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์
ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพื่อสนับสนุนงบประมาณหน่วยบริการสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและหน่วยงานอื่นๆในท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารงบประมาณและการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมือง                     สตูลให้มีประสิทธิภาพ           ยุทธศาสตร์ที่ 5 ป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ หลักการสำคัญ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่บุคคลในพื้นที่โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับจากกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น 1. เข้าถึงการจัดบริการสาธารณสุขได้มากขึ้น 2. ประชาชนมีบทบาทเข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัดการกองทุนสุขภาพท้องถิ่น
3. การจัดการสุขภาพของชุมชน มีการจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทหรือปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 4. เกิดความมั่นใจมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทุกกลุ่มวัย

แผนยุทธวิถีเชิงรุก (Tactical Plan)
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลจุดเด่น (Strengths) และโอกาส (Opportunities) ของแผนยุทธศาสตร์ "การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาบริการเชิงรุกและฟื้นฟูสมรรถภาพ ตามชุดสิทธิประโยชน์" สามารถทำได้ดังนี้ 1. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการบริการ     ใช้ความพร้อมของบุคลากร (S1) ร่วมกับโอกาสที่กองทุนหลักประกันสุขภาพมีเทคโนโลยีในการทำงาน (O4) เพื่อพัฒนาการให้บริการด้านสุขภาพ โดยการจัดอบรมเพิ่มเติมและสร้างแพลตฟอร์มการบริการออนไลน์เพื่อให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 2. เสริมสร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกับชุมชน     ใช้ความสามัคคีและความตั้งใจในการทำงาน (S2) ร่วมกับโอกาสในการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและการสร้างเครือข่าย (O2) เพื่อพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพ และจัดกิจกรรมให้ความรู้และการป้องกันโรคในชุมชนอย่างต่อเนื่อง   3. พัฒนาการบริหารจัดการงบประมาณร่วมกับชุมชน     ใช้การบริหารจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ (S4) ร่วมกับโอกาสที่หน่วยงานและภาคประชาชนสามารถเข้าถึงงบประมาณได้ง่ายขึ้น (O3) โดยการสร้างกระบวนการทำงานร่วมกับชุมชนในการตัดสินใจจัดสรรงบประมาณเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด   4. เสริมสร้างความร่วมมือในการนำแนวคิดใหม่ๆ จากหลายอาชีพ     ใช้ความหลากหลายของอาชีพในคณะทำงาน (S3) ร่วมกับโอกาสที่มีนโยบายและระเบียบการดำเนินงานจากสปสช.ที่ชัดเจนสนับสนุน (O1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำเสนอและแลกเปลี่ยนแนวคิดใหม่ๆ ในการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลจุดเด่น (Strengths) และโอกาส (Opportunities) ของแผนยุทธศาสตร์ "สนับสนุนงบประมาณหน่วยบริการสาธารณสุข" สามารถทำได้ดังนี้ 1. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ         ใช้ความพร้อมและศักยภาพของบุคลากร (S1) ร่วมกับโอกาสที่กองทุนหลักประกันสุขภาพมีเทคโนโลยีในการทำงาน (O4) โดยพัฒนาระบบการจัดการงบประมาณที่มีความแม่นยำและโปร่งใสผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล และให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ     2. สร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกันระหว่างชุมชนและหน่วยบริการสาธารณสุข         ใช้ความสามัคคีและความตั้งใจในการทำงาน (S2) ร่วมกับโอกาสที่การดำเนินงานกองทุนฯสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและการสร้างเครือข่าย (O2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณ และสร้างเครือข่ายการทำงานที่เข้มแข็งระหว่างหน่วยบริการและชุมชน       3. พัฒนาศักยภาพของคณะทำงานจากหลากหลายอาชีพในการจัดสรรงบประมาณ           ใช้ความหลากหลายของอาชีพในคณะทำงาน (S3) ร่วมกับโอกาสที่หน่วยงานและภาคประชาชนสามารถเข้าถึงงบประมาณได้ง่ายขึ้น (O3) เพื่อส่งเสริมให้คณะทำงานจากหลากหลายอาชีพมีบทบาทสำคัญในการวางแผนและจัดสรรงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ         4. ส่งเสริมการให้คำปรึกษาและความช่วยเหลือทางการเงินแก่หน่วยบริการ         ใช้ความพร้อมในการให้คำปรึกษาและการช่วยเหลือ (S6) ร่วมกับโอกาสที่มีนโยบายและระเบียบการดำเนินงานจากสปสช. ที่ชัดเจนและสนับสนุน (O1) เพื่อจัดตั้งหน่วยให้คำปรึกษาทางการเงินและการจัดการงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ต่างๆ ให้เกิดการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจุดเด่น (Strengths) และโอกาส (Opportunities) ของแผนยุทธศาสตร์ "สร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและหน่วยงานอื่นๆในท้องถิ่น" สามารถทำได้ดังนี้
        1. ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างเสริมสุขภาพในท้องถิ่น           ใช้ความพร้อมและศักยภาพของบุคลากร (S1) ร่วมกับโอกาสที่กองทุนหลักประกันสุขภาพมีเทคโนโลยีในการทำงาน (O4) เพื่อพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ช่วยในการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนในท้องถิ่น เช่น แอปพลิเคชันการติดตามสุขภาพและข้อมูลทางการแพทย์         2. พัฒนาความร่วมมือระหว่างประชาชนและหน่วยงานท้องถิ่น ใช้ความสามัคคีและความตั้งใจในการทำงาน (S2) ร่วมกับโอกาสที่การดำเนินงานกองทุนฯสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและการสร้างเครือข่าย (O2) เพื่อจัดกิจกรรมและโครงการสร้างเสริมสุขภาพที่มีประชาชนและหน่วยงานในท้องถิ่นร่วมมือกัน โดยเน้นการสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง         3. สร้างโอกาสในการจัดการงบประมาณร่วมกับภาคประชาชน
            ใช้ความหลากหลายของอาชีพในคณะทำงาน (S3) ร่วมกับโอกาสที่หน่วยงานและภาคประชาชนสามารถเข้าถึงงบประมาณได้ง่ายขึ้น (O3) เพื่อสร้างกระบวนการร่วมกันระหว่างหน่วยงานท้องถิ่นและประชาชนในการจัดสรรงบประมาณให้กับโครงการสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่         4.สนับสนุนการให้คำปรึกษาและการฝึกอบรมด้านสุขภาพแก่ประชาชน           ใช้ความพร้อมในการให้คำปรึกษาและการช่วยเหลือ (S6) ร่วมกับโอกาสที่มีนโยบายและระเบียบการดำเนินงานจากสปสช. ที่ชัดเจนและสนับสนุน (O1) โดยจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาด้านสุขภาพและจัดอบรมเพื่อเสริมสร้างความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพของประชาชนในท้องถิ่น ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจุดเด่น (Strengths) และโอกาส (Opportunities) ของแผนยุทธศาสตร์ "บริหารงบประมาณและการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลให้มีประสิทธิภาพ" สามารถทำได้ดังนี้ 1. พัฒนาระบบการบริหารจัดการงบประมาณด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย     ใช้ความพร้อมและศักยภาพของบุคลากร (S1) ร่วมกับโอกาสที่กองทุนหลักประกันสุขภาพมีเทคโนโลยีในการทำงาน (O4) เพื่อปรับปรุงระบบการจัดการงบประมาณให้มีความทันสมัยและโปร่งใส เช่น การนำระบบซอฟต์แวร์มาใช้ในการติดตามและประเมินผลการใช้งบประมาณ 2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการกองทุน         ใช้ความสามัคคีและความตั้งใจในการทำงาน (S2) ร่วมกับโอกาสที่การดำเนินงานกองทุนฯสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและการสร้างเครือข่าย (O2) โดยจัดให้มีเวทีสาธารณะหรือกิจกรรมเพื่อรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากประชาชนในการจัดการงบประมาณและพัฒนากองทุน 3.เสริมสร้างความรู้และทักษะในการบริหารจัดการงบประมาณแก่คณะทำงานจากหลากหลายอาชีพ         ใช้ความหลากหลายของอาชีพในคณะทำงาน (S3) ร่วมกับโอกาสที่หน่วยงานและภาคประชาชนสามารถเข้าถึงงบประมาณได้ง่ายขึ้น (O3) โดยการจัดอบรมและสัมมนาเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการบริหารจัดการงบประมาณสำหรับคณะทำงานที่มาจากหลากหลายอาชีพ 4.จัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ           ใช้ความพร้อมในการให้คำปรึกษาและการช่วยเหลือ (S6) ร่วมกับโอกาสที่มีนโยบายและระเบียบการดำเนินงานจากสปสช.ที่ชัดเจนและสนับสนุน (O1) โดยจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาด้านการจัดการงบประมาณ และให้การสนับสนุนด้านการบริหารจัดการแก่หน่วยงานท้องถิ่นเพื่อให้เกิดการใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลจุดเด่น (Strengths) และโอกาส (Opportunities) ของแผนยุทธศาสตร์ "ป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่" สามารถทำได้ดังนี้: 1.พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้วยการใช้เทคโนโลยีในการติดตามและจัดการโรคระบาด           ใช้ความพร้อมและศักยภาพของบุคลากร (S1) ร่วมกับโอกาสที่กองทุนหลักประกันสุขภาพมีเทคโนโลยีในการทำงาน (O4) โดยจัดอบรมและพัฒนาทักษะให้กับบุคลากรในการใช้เทคโนโลยีสำหรับติดตามและจัดการข้อมูลเกี่ยวกับโรคระบาด เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคระบาด           ใช้ความสามัคคีและความตั้งใจในการทำงาน (S2) ร่วมกับโอกาสที่การดำเนินงานกองทุนฯสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและการสร้างเครือข่าย (O2) โดยการจัดกิจกรรมสร้างความตระหนักรู้และการฝึกอบรมประชาชนในพื้นที่ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคระบาดร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่น 3. ประสานงานร่วมกับคณะทำงานหลากหลายอาชีพในการจัดการภัยพิบัติ             ใช้ความหลากหลายของอาชีพในคณะทำงาน (S3) ร่วมกับโอกาสที่หน่วยงานและภาคประชาชนสามารถเข้าถึงงบประมาณได้ง่ายขึ้น (O3) เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างคณะทำงานจากหลากหลายอาชีพในการวางแผนและจัดการสถานการณ์ภัยพิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ 4. จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาในกรณีฉุกเฉินด้านสาธารณสุข             ใช้ความพร้อมในการให้คำปรึกษาและการช่วยเหลือ (S6) ร่วมกับโอกาสที่มีนโยบายและระเบียบการดำเนินงานจากสปสช. ที่ชัดเจนสนับสนุนและเอื้อต่อ (O1) โดยจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาในกรณีฉุกเฉิน เพื่อให้คำแนะนำและช่วยเหลือประชาชนในสถานการณ์โรคระบาดหรือภัยพิบัติอย่างรวดเร็วและทั่วถึง

 

0 0

16. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 4/2567

วันที่ 20 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระเบียบวาระการประชุมกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 4/2567 วันศุกร์ ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2567 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 3 เทศบาลเมืองสตูล ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุม 1.1 …………………………………………………………………………….. 1.2 …………………………………………………………………………….. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม   รายงานการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2567 วันที่ 15 สิงหาคม 2567
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเสนอให้ที่ประชุมทราบ
3.1 รายงานการใช้จ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปี 2567 3.2 รายงานการใช้จ่ายเงินโครงการประเภทที่ 4 ประจำปีงบประมาณ 2567 3.3 รายงานความคืบหน้าการดำเนินงานโครงการจัดบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย LTC จากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เทศบาลเมืองสตูล รอบมกราคม 2567 – ธันวาคม
2567 เป็นเงิน 384,000 บาท 3.4 สรุปผลโครงการและการประเมินติดตามผลการดำเนินงานโครงการประจำปี 2567 3.5 สรุปผลการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กองุทนฯ 3.6 แจ้งคณะอนุกรรมการ LTC ลงประเมินการดำเนินงาน LTCของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอให้ที่ประชุมพิจารณา 4.1 พิจารณาอนุมัติโครงการบริหารประเภทที่ 4
  ยอดประชากรกลางปี ณ เมษายน 2567  21,563 คน   ยอดผู้ต้องขังเรือนจำ รวม            1,066 คน               รวม  22,629 คน   คาดประมาณยอดจัดสรร จาก สปสช.  1,018,305 บาท   ยอดสมทบจาก อปท ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50  509,152 บาท               รวม 1,527,457 บาท โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลประจำปีงบประมาณ 2568
(ไม่เกินร้อยละ 20 ) 305,490 บาท
ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 16 คน ที่ปรึกษากองทุนฯ จำนวน 2 คน  เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกองทุนฯ 4 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดสัดส่วนเงินคงเหลือสะสม(ยกมาจากปีผ่านมา/รายรับแต่ละปี) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละเงินคงเหลือของกองทุนฯ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
87.00 90.00

 

2 เพื่อเพิ่มสัดส่วนคณะกรรมการมีความรู้เรื่องประกาศฯ และการดำเนินงานกองทุนขึ้น
ตัวชี้วัด : คะแนนเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจของคณะกรรมการกองทุนมีความรู้ความเข้าใจในประกาศเพิ่มขึ้น (คะแนนเฉลี่ย)
8.20 9.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน กลุ่ม หน่วยงานต่างๆ เข้าถึงงบประมาณกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : เพิ่มสัดส่วนประชาชน กลุ่ม หน่วยงาน ที่เข้าถึงงบประมาณกองทุนฯ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา (กลุ่ม/หน่วยงาน)
26.00 30.00

 

4 เพื่อเพิ่มการประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : มีการประชุมเพื่อพิจารณาอนุมัติ care plan และติดตาม ไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี
1.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 195
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 45
ตัวแทน กลุ่ม องค์กร หน่วยงาน 150

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดสัดส่วนเงินคงเหลือสะสม(ยกมาจากปีผ่านมา/รายรับแต่ละปี) ลง (2) เพื่อเพิ่มสัดส่วนคณะกรรมการมีความรู้เรื่องประกาศฯ และการดำเนินงานกองทุนขึ้น (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชน กลุ่ม หน่วยงานต่างๆ เข้าถึงงบประมาณกองทุนฯ (4) เพื่อเพิ่มการประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเชิงกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และแผนสุขภาพกองทุน ประจำปีงบประมาณ 2568 (2) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 5/2566 (3) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุน / อนุกรรมการกองทุน / เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกองทุนฯ (4) จัดซื้อครุภัณฑ์เพื่อการบริหารจัดการกองทุนฯ (5) จัดซื้อวัสดุสำนักงาน /ค่าจ้างถ่ายเอกสารเข้าเล่มที่ใช้ในการดำเนินงานกองทุนฯ (6) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 8/2566 (7) พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับทุน (8) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2566 (9) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2567 (10) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2567 (11) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2567 (12) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2567 (13) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/2567 (14) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 4/2567 (15) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/2567 (16) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2567 (17) จัดทำวารสาร สื่อประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานกองทุนฯ (18) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2567 (19) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายพิจารณากลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567 (20) ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2/2567 (21) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 6/2567

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

วางแผนในการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เพิ่มกระบงนการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน LTC อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง เพิ่มกิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับงบประมาณ

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567

รหัสโครงการ 67-L8008-04-01 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การจัดทำแผนกลยุทธ์ของกองทุนฯโดยการใช้ AI

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

แผนยุทธ์ศาสตร์กองทุนฯ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L8008-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพรชัย จันธิปะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด