กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวสุธิดา นนทพันธ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 470,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพเด็กไทยการพัฒนาคุณภาพเด็กไทยต้องเริ่มตั้งแต่การดูแลหญิงตั้งครรภ์อย่างมีประสิทธิภาพ ถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพอนามัยของมารดาและทารก เพราะหากหญิงตั้งครรภ์เหล่านี้ได้รับการดูแลตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์แล้ว จะสามารถป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างการตั้งครรภ์ได้ เช่น ภาวะโลหิตจาง เบาหวาน โรคธาลัสซีเมีย เป็นต้น ประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาลนครสงขลามีจำนวน 71,272 คน ซึ่งปีงบประมาณ 2566 (ต.ค.2565-ก.ย.2566) หญิงตั้งครรภ์ ในเขตเทศบาลนครสงขลามีจำนวนทั้งหมด 145 คน มารดาหลังคลอด มีจำนวน 175 คน และเด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวน 1,166 คน
เทศบาลนครสงขลา ได้ดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง ผลการดำเนินงานปี พ.ศ. 2564 - 2566 เกิดผลสัมฤทธิ์ ทำให้สถานการณ์อนามัยแม่และเด็กผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้
1. อัตราฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 80.48,75,80.48 ตามลำดับ (เกณฑ์ ร้อยละ 75)
2. หญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด (เจาะเลือดครั้งแรก) คิดเป็นร้อยละ 97.57,97.5,88.15 ตามลำดับ (เกณฑ์ ร้อยละ 80)
3. อัตราฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 81.25,75,96.35 ตามลำดับ(เกณฑ์ ร้อยละ 75) 4.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม คิดเป็นร้อยละ 96.35,85.45,97.67 ตามลำดับ (เกณฑ์ ร้อยละ 90)
5. ทารกแรกเกิดได้รับการเลี้ยงดูด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน คิดเป็นร้อยละ 70.84,87.27,70.83 ตามลำดับ
(เกณฑ์ ร้อยละ 50)
6.เด็กแรกเกิดถึง 1 ปี มีพัฒนาการสมวัยตามลำดับ 89.83,94.54,95.90 (เกณฑ์ ร้อยละ 85) 7.ภาวะมารดาคลอดก่อนกำหนด (เกณฑ์ไม่มากกว่า ร้อยละ 13.50) จากผลการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก ปีงบประมาณ 2566 จะเห็นว่าตัวชี้วัดสุขภาพของมารดาและทารก ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารสุข ดังนั้นงานศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก ขึ้น เพื่อพัฒนาสุขภาพของมารดาและทารก ลดอันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอด มารดาและทารกมีสุขภาพแข็งแรง มีภาวะโภชนาการที่ดี ได้รับบริการดูแลสุขภาพที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ครบวงจรตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลังคลอด อันส่งผลให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กมีพัฒนาการสมวัย และเติบโตไปเป็นประชากรที่มีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลสุขภาพตลอด อายุครรภ์
  2. 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอด
  3. 3. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
  4. 4. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม และมีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ค่าจัดซื้อวัสดุในการส่งเสริมโภชนาการ
  2. 2. กิจกรรมอบรมความรู้การดูแล สุขภาพ แม่และเด็ก (โรงเรียนพ่อแม่)
  3. 3.กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  4. 4. กิจกรรมรวมพลคนกินแม่
  5. 5.วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องและจำเป็น
  6. นมพร้อมดื่มสำหรับหญิงตั้งครรภ์และไข่ไก่
  7. ตะกร้า พลาสติกมีฝาปิด
  8. - ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย
  9. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  10. - ค่าอาหารกลางวัน
  11. ค่าจ้างทำป้ายไวนิลโครงการ
  12. ค่าจ้างทำป้ายไวนิลโครงการ
  13. ค่าทำแผ่นพับ
  14. - ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย
  15. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  16. - ค่าอาหารกลางวัน
  17. - ค่าถุงเก็บน้ำนม
  18. - ค่าชุดกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
  19. - ค่าวัสดุสำนักงาน
  20. - ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์
  21. ค่าถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่มสรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 190
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย
    1. หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดได้รับการติดตามดูแลสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.
        แม่คนที่ 2
    2. ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม และได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
    3. หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ มีความตระหนักในการดูแลตนเองและบุตร
        การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการเลี้ยงดูบุตรอย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลสุขภาพตลอด อายุครรภ์
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 75 ของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
75.00

 

2 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของหญิงตั้งครรภ์ ที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีภาวะซีดก่อนคลอด
80.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 75 อัตราฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
75.00

 

4 4. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม และมีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : 4. ร้อยละ 50 ของทารกแรกเกิดได้รับการเลี้ยงดูด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 310
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 120
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 190
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลสุขภาพตลอด      อายุครรภ์ (2) 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกหลังคลอด (3) 3. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน (4) 4. เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม และมีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ค่าจัดซื้อวัสดุในการส่งเสริมโภชนาการ (2) 2. กิจกรรมอบรมความรู้การดูแล สุขภาพ แม่และเด็ก (โรงเรียนพ่อแม่) (3) 3.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (4) 4. กิจกรรมรวมพลคนกินแม่ (5) 5.วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องและจำเป็น (6) นมพร้อมดื่มสำหรับหญิงตั้งครรภ์และไข่ไก่ (7) ตะกร้า พลาสติกมีฝาปิด (8) - ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย (9) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (10) - ค่าอาหารกลางวัน (11) ค่าจ้างทำป้ายไวนิลโครงการ (12) ค่าจ้างทำป้ายไวนิลโครงการ (13) ค่าทำแผ่นพับ (14) - ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย (15) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (16) - ค่าอาหารกลางวัน (17) - ค่าถุงเก็บน้ำนม (18) - ค่าชุดกระตุ้นพัฒนาการเด็ก (19) - ค่าวัสดุสำนักงาน (20) - ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ (21) ค่าถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่มสรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกเชิงรุก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวสุธิดา นนทพันธ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด