กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก
รหัสโครงการ 66-L2976-10(4)-003
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก
วันที่อนุมัติ 26 กันยายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 กันยายน 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 29 กันยายน 2566
งบประมาณ 3,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวเสาวลักษณ์ ณ สงขลา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.672,101.062place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 26 ก.ย. 2566 30 ก.ย. 2566 3,800.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 3,800.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 19 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของ ประเทศไทยในการส่งเสริมมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพ ของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเป็นกลกลสำคัญในการบริหรจัดกรระบบหลักประกันสุขภาพ และ ประสานหน่วยงานองค์กรและภาคเครือข่าย ในพื้นที่เข้ามาคันหาปัญหาและความต้องการ ของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วม ดำเนินกิจกรรมด้าน สุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิตู ใน ระดับ ท้องถิ่นหรือพื้นที่ ดังนั้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องอันได้แก่คณะกรรมการบริหารระบบ หลักประกันสุขภาพในพื้นที่ คณะ อนุกรรมการ และคณะทำงานกองทุน หลักประกันสุขภาพ อบต.ช้างให้ตก จึงได้จัดทำ โครงการบริหารจักการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การ บริหารส่วนตำบลช้างให้ตก ประจำปี งบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงานของคณะกรรมการกองทุนแบบบูรณาการ และมีส่วนร่วม ของทุก ภาคส่วน ให้เข้าใจในทบบาทหน้าที่ของตนเอง ซึ่งจะต้องบริหารจัดการกองทุนฯ ให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ซึ่งเป็นการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้หา ประสบการณ์จากองทุนตันแบบที่ประสบความสำเร็จการดำเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในความรับผิดชอบสามารถข้าถึงบริการ สาธารณสุขทั้งที่บ้านในชุมชนหรือหน่วยบริการได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานของการ บริหารจัดการูกองทุน ตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อ เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการ สร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการ สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลๆ 2.เพื่อให้มีประชุม คณะกรรมการบริหารกองทุน/นุกรรมการ ครบตาม ประกาศ 3.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มี ประสิทธิภาพ

1.มีจำนวนคณะกรรมการบริหารกองทุนฯได้รับการพัฒนา ความเข้าใจในการดำเนินงานของการ บริหารจัดการกองทุน ศักยภาพฯ 2.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารกองทุน ตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อ โดยใช้หลักเกณฑ์ต่างๆของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่ง เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ ชาติ3.มีจำนวนคณะกรรมการบหารกองทุน/อนุกรรมการ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการ สร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการ ครบตามประกาศ(คน) 4.กองทุนสุขภาพตำบลสามารพบริ สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ 2.เพื่อให้มีประชุม หารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 19 3,800.00 0 0.00
26 - 29 ก.ย. 66 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลช้างให้ตก ครั้งที่ 3/ 2566 19 3,800.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้สามารถพัฒนาศักยภาพคณะกรรมกากทุน คณะนุกรรมการ และคณะทำงนของกองทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานกองทุนอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.ทำให้สามารถลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การดำเนินงานและทิศทางของระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ใกล้เคียงมากยิ่งขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.ย. 2566 10:11 น.